home movie radio music chord lyrics book game Dictionary clip
HOME HAND MADE RADIO SHOP CHORD LYRICS BOOKS GAME Dictionary Clip




 
หน้าหลัก | บทที่ 1 | บทที่ 2 | บทที่ 3 | บทที่ 4 | บทที่ 5 | บทที่ 6 | บทที่ 7 | บทที่ 8 | บทที่ 9 | บทที่ 10 | บทที่ 11 | บทที่ 12 | บทที่ 13 | บทที่ 14 | บทที่ 15 |
 

บทที่ 11 การกลิ้ง  ทอร์ค  และโมเมนต์ตัมเชิงมุม

 

          เมื่อวัตถุหมุน  สามารถอธิบายได้ในเทอมของทอร์คและพลังงานจลน์ในการหมุน  แต่ทอร์คสามรถเขียนอยู่ในรูปของเวกเตอร์ได้  เมื่อแรงมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมเชิงเส้น  ทอร์คก็ย่อมมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมเชิงมุมด้วยเช่นกัน  อาศัยความคล้ายกันโดยใช้กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้นเราจะได้กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม

11.1   ทอร์คในรูปของเวกเตอร์

11.2   โมเมนตัมเชิงมุมและทอร์ค

11.3   กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม

11.4   ไจโรสโคป

คำถาม เมื่อแตะฟุตบอลให้หมุน  ทำไมฟุตบอลจึงไม่รักษาทิศทางการเคลื่อนที่

 

11.1 ทอร์คในรูปของเวกเตอร์

จากบทที่แล้ว  ขนาดของทอร์คคือผลคูณของแรงที่ลากไปตั้งฉาก    กับแขนหมุน    หรือผลคูณของแขนหมุนที่ลากไปตั้งฉาก    กับแนวแรง    ดังรูปที่ 11.1

 

         =           =      

 

  สมการที่ได้จะคล้ายกับผลคูรแบบครอส  สามารถเขียนใหม่ได้เป็น

 

         =      

รูปที่ 11.1

                               หมายความว่าตามรูปที่  11.1  ทิศของทอร์คจะมีทิศพุ่งออกจากระนาบของหน้ากระดาษ (ตามแกน  ตามรูปที่ 11.2  เพื่อไม่ให้ยุ่งยากในการคิดจึงนำมากล่าวในบทนี้  เนื่องจากทิศของทอร์คจะขึ้นอยู่กับระนาบที่วัตถุหมุน  ในกรณีนี้เมื่อวัตถุหมุนในระนาบ   ปัญหาที่น่าสนใจคือทอร์คเป็นเวกเตอร์และมีค่าคงที่  จะมีทิศเพียงทิศเดียวเท่านั้นที่ตั้งฉากกับระนาบ    นั่นคือแกน 

แต่เนื่องจากทิศที่ตั้งฉากกับระนาบ   มีสองทิศคือ 

      กับ  เพื่อให้เป็นไปในทางเดียวกันเราใช้กฎมือขวาในการกำหนดทิศทาง

 

รูปที่ 11.2

 

 

 

กฎมือขวา

-     ให้นิ้วทั้งสี่ชี้ตามทิศของ 

-     กำนิ้วทั้งสี่เข้าหาแรง 

-     นิ้วหัวแม่มือจะแสดงทิศของทอร์ค 

 

 

 

 

รูปที่  1.3  กฎมือขวา

 

 

 

 

ตัวอย่างที่  11.1  ไม้เมตรมวล    วางอยู่ในแนวราบปลายด้านหนึ่งชี้ไปทางทิศเหนือปลายอีกด้านหนึ่งตรึงติดอยู่กับที่  เมื่อปล่อยให้ไม้เมตรเคลื่อนที่ดังรูปที่  11.4  จงหาทอร์คที่เกิดจากแรงโน้มถ่วง

วิธีทำ   จากนิยามของทอร์ค

                 =      

                 =      

                   =      

          =      

รูปที่  11.4               จากกฎมือขวาทอร์คจะมีทิศตามทิศตะวันตก  (แกน)                                

         

11.2  โมเมนตัมเชิงมุมและทอร์ค

อาศัยกฎการเคลื่อนที่ข้อสองของนิวตันและนิยามของความเร่งจะได้นิยามของโมเมนตัมเชิงเส้น

                                  =      

                                         =      

                                         =      

                                         =      

                                     =      

ในทำนองเดียวกันอาศัยกฎข้อสองของนิวตันสำหรับการหมุนและนิยามของความเร่งเชิงมุม  จะได้สมการโมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุแข็งเกร็ง

 

                                   =      

                                         =      

                                         =      

                                         =      

                                      =      

กฎข้อสองของนิวตันสำหรับการหมุน

                                   =      

โมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุแข็งเกร็ง

                                      =      

 

 

 

 

ตัวอย่างที่  11.2  หินลับมีดมวล    รัศมี    ถูกเร่งให้มีความเร็ว    ในเวลา    จากเดิมอยู่นิ่งดังรูปที่  11.5

        จงหาค่าโมเมนตัมเชิงมุมสุดท้าย

        ทอร์คสุทธิ์

วิธีทำ  . โมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุแข็งเกร็ง

                          =      

          เมื่อแผ่นหินลับมีดคล้ายแผ่นจานจะได้โมเมนต์ความเฉื่อยคือ

 

                           =      

รูปที่  11.5                                  =       

                                      =      

ความเร็วเชิงมุมสุดท้ายคือ

                         =      

                             =            

                          =      

                             =      

                             =      

          จากกฎข้อสองของนิวตันสำหรับการหมุน

                      =      

                          =      

                             =      

                             =      

          ความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนตัมเชิงเส้นและโมเมนตัมเชิงมุม  เป็นพื้นฐานสำหรับนิยามนิยามของโมเมนตัมเชิงมุม  ความสัมพันธ์นี้มาจากการเปรียบเทียบนิยามของทอร์คและกฎข้อสองของนิวตันสำหรับการหมุน

                                    =        

                                  =      

                                      =      

          เทอม  เพิ่มเข้าไปในสมการค่าจะไม่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเร็วครอสกับโมเมนตัมมีค่าเป็นศูนย์  จากนั้นอาศัยนิยามของความเร็วและผลของอนุพันธ์

                                  =      

                                      =      

                                      =      

          นิยามโมเมนตัมเชิงมุม

                                    =      

 

ตัวอย่างที่ 11.3  จงหาโมเมนตัมเชิงมุมของดวงจันทร์เมื่อโคจรรอบโลกดังรูป

วิธีทำ  ข้อมูลสามารถค้นหาได้จากหนังสือฟิสิกส์ทั่ว ๆ ไป เมื่อ   ;

         

 

จากนิยามความเร็วและโมเมนตัม

 

      =      

          =      

           รูปที่ 11.6                                =                                                                       =           

 

          จากนิยามของโมเมนตัมเชิงมุม และอาศัยความจริงที่ว่ารัศมีโคจรกับความเร็วตั้งฉากกันจะได้

                                    =      

                                    =           

                                      =      

                                      =      

          อาศัยกฎมือขวา  โมเมนตัมเชิงมุมจะมีทิศพุ่งออกจากระนาบของกระดาษ

 

ตัวอย่างที่ 11.4  จงหาค่าโมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุแข็งเกร็งโดยการประยุกต์ใช้นิยามของโมเมนตัมเชิงมุม

วิธีทำ  จากรูปที่ 11.7  พิจารณามวลก้อนเล็ก ๆ  จากนั้นใช้นิยามของโมเมนตัมเชิงมุมและโมเมนตัมเชิงเส้น

                          =        

                        =      

          ให้จุดหมุนคงที่  รัศมีจะตั้งฉากกับความเร็ว  โมเมนตัมเชิงมุมจะมีทิศพุ่งเข้าตั้งฉากกับระนาบของกระดาษทิศเดียวกับความเร็วเชิงมุม  อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของความเร็วกับความเร็วเชิงมุม

          รูปที่ 11.7                     =               =      

                                                =             =      

เมื่อคิดทั้งก้อน

                                          =            

                                              =      

                                              =      

11.3  กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม

          จากกฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น  และการประยุกต์ใช้กฎข้อสองสำหรับระบบอนุภาคเมื่อไม่มีแรงภายนอกมากระทำ

                               =           

                                    =      

                                  =      

           กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น ในระบบโดดเดี่ยวผลรวมของโมเมนตัมเชิงเส้นจะมีค่าคงที่

          ในทำนองเดียวกันอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุมและการประยุกต์ใช้กฎข้อสองของการหมุนเมื่อไม่มีทอร์คภายนอกมากระทำ

                                =                    

                                    =      

                                  =                       

          กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ในระบบโดเดี่ยวผลรวมของโมเมนตัมเชิงมุมจะคงที่ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือโต๊ะหมุนและกาแตะฟุตบอล

          โต๊ะหมุน  เมื่อยืนบนโต๊ะหมุนถ้ามีทอร์คภายนอกมากระทำโมเมนตัมเชิงมุมจะมีการเปลี่ยนแปลง

          ฟุตบอล ถ้าไม่มีทอร์คกระทำบนลูกฟุตบอล  ฟุตบอลจะเคลื่อนที่ในทิศทางเดียวกับโมเมนตัมเชิงมุม

          โต๊ะหมุน  เมื่อยืนบนโต๊ะหมุนถ้ามีการเปลี่ยนแปลงโมเมนความเฉื่อย  ความเร็วเชิงมุมก็จะเปลี่ยนแปลงด้วยเพื่อให้โมเมนตัมเชิงมุมคงที่

 

ตัวอย่างที่ 11.5  นักศึกษาคนหนึ่งยืนบนโต๊ะหมุนและกางแขนทั้งสองข้างออก  จากนั้นหดแขนเข้าแสดงดังรูปที่ 11.8  ทำให้ความเร็วเปลี่ยนจาก   เป็น  จงหาอัตราส่วนโมเมนต์ความเฉื่อยที่เปลี่ยนไปต่อโมเมนต์ความเฉื่อยเดิม

วิธีทำ  จากโมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุแข็งเกร็ง  สำหรับโมเมนตัมเชิงมุมก่อนการเปลี่ยนแปลง

                =      

โมเมนตัมเชิงมุมภายหลังการเปลี่ยนแปลง

                       =        

 

          รูปที่ 11.8                

 

 เมื่อไม่มีทอร์คภายนอกมากระทำจากกฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม

                                   =      

                                =      

                                  =      

                                      =      

          จากคำตอบที่ได้แสดงว่าเมื่อความเร็วเชิงมุมเพิ่ม  โมเมนต์ความเฉื่อยจะลดลงเพื่อให้โมเมนตัมเชิงมุมคงที่ตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน

ตัวอย่างที่ 11.6  แป้นหมุนของช่างปั้นหม้อมีโมเมนต์ความเฉื่อย   หมุนด้วยความเร็ว   ถ้ามีดินเหนียวรูปทรงกระบอกมวล  รัศมี  เคลื่อนลงมาตามแนวดิ่งและตกลงตรงจุดศูนย์กลางของแป้นหมุนดังรูปที่ 11.9  จงหาอัตราการหมุนเมื่อก้อนดินเหนียวตกลงบนแป้นหมุน

                                                วิธีทำ   จากโมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุแข็งเกร็งจะได

          โมเมนตัมเชิงมุมเริ่มต้น (มีเฉพาะแป้นหมุน)

                         =      

          โมเมนตัมเชิงมุมสุดท้าย (ประกอบด้วยแป้น       หมุนและดินน้ำมัน)

                  

 

                   รูปที่ 11.9

 

                                             =      

 

          แต่ดินน้ำเหนียวเป็นรูปทรงกระบอกมีโมเมนต์ความเฉื่อยเป็น

                                    =      

          เมื่อไม่มีทอร์คภายนอกมากระทำ จะได้ว่าโมเมนตัมเชิงมุมไม่มีการเปลี่ยนแปลง  อาศัยการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม

                                =      

                                   =      

                                      =      

                                      =      

 

11.4  ไจโรสโคป

          ไจโรสโคป  ประกอบด้วยล้อหมุนซึ่งติดตั้งไว้บนแกนในลักษณะซึ่งแกนจะหมุนเปลี่ยนทิศทางได้อย่างอิสระดังรูปที่ 11.10

 

 

 

 

 

 

 

รูปที่ 11.10

 

 

 

 

                                                เมื่อไจโรสโคปหมุนจะเกิดทอร์คเนื่องจากน้ำหนักของไจโรสโคป ซึ่งขนาดและทิศทางของทอร์คหาได้จากสมการ

                          =      

        พิจารณารูปที่ 11.11  เมื่อมองจากด้านข้าง

                          =      

                             =      

(เพราะว่า )

          จากกฎมือขวาทอร์คมีทิศพุ่งเข้าระนาบของกระดาษเนื่องจากทอร์ค  ตั้งฉากกับโมเมนตัมเชิงมุม  ทำให้การพิจารณาการหมุนมีความยุ่งยาก  ให้คิด

          รูปที่ 11.11                            เปรียบเทียบความคล้ายกันระหว่างแรงที่กระทำตั้งฉากกับโมเมนตัมเชิงเส้น  ซึ่งจะทำให้เกิดการหมุนเป็นวงกลม  ซึ่งเราคาดว่าคงจะมีผลเช่นเดียวกันกับเมื่อทอร์คกระทำตั้งฉากกับโมเมนตัมเชิงมุม

          ทอร์คลัพธ์จะเกิดจาการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมเชิงมุม  ถ้าให้ทอร์คมีทิศตั้งฉากกับโมเมนตัมเชิงมุมเริ่มต้น  ขนาดของโมเมนตัมเชิงมุมจะไม่เปลี่ยนแปลงเฉพาะทิศทางเท่านั้นดังรูปที่ 11.12 เมื่อมองจากด้านบนลงมาจะสังเกตเห็นว่ามุมเปลี่ยนไป   เมื่อหาค่าโมเมนความเฉื่อยของไจโรสโคป  อาศัยกฎข้อสองของการหมุน

         

                       =      

                         =      

                        =               

 

 

           

             รูปที่ 11.12                     

                                                เมื่อพิจารณาโดยใช้เวกเตอร์ซึ่งแสดงดังรูปที่ 11.13

                        =      

                   =      

                        =      

 

             รูปที่ 11.13

 

          แต่ไจโรสโคปคือวัตถุแข็งเกร็งที่หมุนรอบแกนที่หมุนรอบแกนของความเร็วเชิงมุม  ดังนั้นขนาดโมเมนตัมเชิงมุมของไจโรสโคปคือ

                                    =      

                          =      

                                  =      

 

 

 

          การเคลื่อนที่ของแกนรอบแนวดิ่งนี้เรียกว่า  การหมุนควง (precession) แทนด้วยอักษรกรีก  จะได้

                                   =      

สรุป

กฎข้อสองของนิวตันสำหรับการหมุน :   

โมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุแข็งเกร็ง        :        

นิยามของโมเมนตัมเชิงมุม :         

กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม :

 

 

 

 

 

 
Bookmark This Page