home movie radio music chord lyrics book game Dictionary clip
HOME HAND MADE RADIO SHOP CHORD LYRICS BOOKS GAME Dictionary Clip




 
หน้าหลัก | บทที่ 1 | บทที่ 2 | บทที่ 3 | บทที่ 4 | บทที่ 5 | บทที่ 6 | บทที่ 7 | บทที่ 8 | บทที่ 9 | บทที่ 10 | บทที่ 11 | บทที่ 12 | บทที่ 13 | บทที่ 14 | บทที่ 15 |
 

บทที่ 15 การเคลื่อนที่แบบสั่น

 

เนื้อหาประกอบด้วย

15.1  แรงบนสปริง กฎของฮุค (Hooke’s Rule)

15.2  การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก

15.3  ความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่แบบวงกลม

15.4  แรงและพลังงานในการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิกอย่างง่าย

15.5  รูปแบบต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก

 

          ในบทนี้จะศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก (Simple Harmonic Moion, SHM) ตัวอย่าง เช่น การสั่นของมวลที่ติดปลายสปริง  ซึ่งสมการการเคลื่อนที่เราสามารถหาได้โดยการประยุกต์ใช้กฎต่าง ๆ ที่ได้ศึกษามาก่อนหน้านี้  เช่นการประยุกต์ใช้กฎข้อสองของนิวตันเพื่อหาสมการการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก  จะได้สมการที่  ตำแหน่งเป็นฟังชั่นของเวลา   ; ความเร็วเป็น ฟังชั่นของเวลา   ; ความเร่งเป็นฟังชั่นของเวลา  หรือ ความเร็วเป็นฟังก์ชั่นของตำแหน่ง  และ ความเร่งเป็นฟังชั่นของตำแหน่ง

 

15.1 แรงบนสปริง กฎของฮุค

 

          เมื่อนำมวลมาแขวนที่ปลายสปริงและอยู่ในสภาพสมดุล  จากกฎข้อสองของนิวตัน

                      =      

                   =      

                         =      

 

          เมื่อเพิ่มน้ำหนักจนทำให้สปริงยืดออก  แรงที่กระทำต่อสปริง (แรงเนื่องจากวัตถุมวล  ; ) จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะยืดของสปริง  และมีทิศตรงข้ามกับแรงสปริง  ดังรูปที่ 15.1

                         =      

 

          เมื่อ   เรียกว่าค่าคงที่ของสปริง (spring constant)

          กฎของฮุค        =      

          รูปที่ 15.1

         

 

ตัวอย่างที่ 15.1  จงหาค่าคงที่ของสปริง  เมื่อนำมวล    มาแขวนที่ปลายสปริงแล้วทำให้สปริงยืดออกจากตำแหน่งสมดุลเดิมเป็นระยะ   ดังรูปที่ 15.2

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

วิธีทำ  จากกฎข้อสองของนิวตัน

            =      

         =      

จากกฎของฮุคและแทนค่าแรงเนื่องจากน้ำหนักของมวล

               =      

เมื่อ  คือระยะยืดของสปริง  จากนั้นแทนค่าต่าง ๆ ลงในสมการ

                 =      

                     =         

 

                   รูปที่ 15.2                                =          

 

15.2 การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก

          การหาสมการการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบซิมเปิลฮาร์โมนิก    สามารถประยุกต์ใช้กฎข้อสองของนิวตันโดยมีความเร่งเข้าเกี่ยวข้อง (เนื่องจากวัตถุมีการเคลื่อนที่) ซึ่งความเร็วและความเร่งสามารถหาได้จากสมการ ตำแหน่งเป็นฟังก์ชั่นของเวลา   

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                             (ก)                             (ข)                               (ค)              

 

                                                          รูปที่ 15.3

 

          พิจารณาการเคลื่อนที่แบบแบบซิมเปิลฮาร์โมนิก  เมื่อระบบไม่สมดุลเดิมสปริงอยู่ในตำแหน่งสมดุลดังรูปที่  15.3 ก.  จากนั้นนำมวล   มาแขวนที่ปลายสปริงทำให้สปริงยืดออกเป็นระยะ  ดังรูปที่ 15.3 ข. ระบบจะอยู่ในตำแหน่งสมดุลอีกครั้ง  จากนั้นยกมวล  ขึ้นเป็นระยะ   เหนือตำแหน่งสมดุลดังรูปที่ 15.3 ค. แล้วปล่อยให้สปริงสั่น 

จากกฎข้อสองของนิวตัน เมื่อมวล   เคลื่อนที่ (ระบบไม่สมดุล)

 

                                         =      

                                      =      

เมื่อสปริงยืดออกเป็นระยะ   อาศัยกฎของฮุค

                            =      

จากกฎข้อสองของนิวตันเมื่อมวล  อยู่ในตำแหน่งสมดุลมวล  อยู่นิ่ง

                                         =      

                                      =      

                                           =      

แทนค่า  ลงในสมการด้านบน (เมื่อระบบไม่สมดุล)  จะได้

                             =      

                                          =      

                                             =      

          นั่นคือความเร่งจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับการกระจัดแต่มีทิศทางตรงกันข้าม  เพื่อความสะดวกกำหนดให้

                                           =      

เขียนสมการใหม่ได้เป็น

                                            =      

จากความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วและความเร่ง  โดยอาศัยกฎลูกโซ่จะได้

                                              =            =      

                                                =      

 

จะได้                                 =      

                                           =      

อินทิเกรตทั้งสองข้าง  โดยมี limit ของตำแหน่งจาก  ไปยังตำแหน่ง  ใด ๆ

                                         =      

          สาเหตุที่ใช้ตำแหน่งตอนแรกเป็น  เนื่องจากที่ตำแหน่งนี้ความเร็วจะเป็นศูนย์  ให้ปล่อยมวลที่ระยะ  เมื่อ  เรียกว่า แอมปลิจูด จะได้

                                         =      

                                          =      

                                            =      

นั่นคือความเร็วจะเป็นฟังก์ชั่นของตำแหน่ง

                                             =      

การหาสมการเมื่อ ตำแหน่งเป็นฟังก์ชั่นของเวลาเวลา  โดยอาศัยเงื่อนไขของความเร็ว

                                              =      

                                            =      

                                  =      

                                =      

ในกรณีนี้    แต่โดยทั่วไปจะมีค่าเท่าใดก็ได้แต่ต้องน้อยกว่าหรือเท่ากับ

                                =      

                                =      

                     =      

เมื่อเทอมที่สองทางซ้ายมือเป็นค่าคงที่  ขึ้นอยู่กับตำแหน่งเริ่มต้นของมวล  เราเรียกว่ามุมเฟสเมื่อ

                                              =      

จะได้

                                 =      

                                     =      

                                            =      

                                                =      

จะได้ตำแหน่งเป็นฟังชั่นของเวลา

                                             =      

การหาสมการ ความเร็วเป็นฟังชั่นของเวลา  โดยอาศัยเงื่อนไขของความเร็ว

                                              =      

                                              =      

จะได้ความเร็วเป็นฟังชั่นของเวลา

                                             =      

จากความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วและความเร่ง โดยหาอนุพันธ์ของความเร็วเทียบกับเวลา

                                              =      

                                                =      

จะได้ความเร่งเป็นฟังชั่นของเวลา

                                             =      

 

สรุป

          เริ่มต้นใช้กฎข้อของของนิวตัน โดยพิจารณาแรงที่เกิดจากวัตถุมวล  กระทำที่ปลายสปริง แล้วทำให้วัตถุมีความเร่ง จากนั้นอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับความเร่ง จะได้สมการการเคลื่อนที่ ของตำแหน่ง ความเร็ว และความเร่ง ดังนี้

                                             =      

                                             =      

                                             =      

                                             =      

                                            =      

          เมื่อ  คือแอมปลิจูด ;  คือมุมเฟส ;   คือควาเร็วเชิงมุม

ความถี่เชิงมุมของวัตถุมวล  ที่ติดปลายสปริงคือ

                                             =      

          ค่า sines และค่า cosines  บอกให้เราทราบว่าวัตถุเคลื่อนที่แบบสั่น หรือแบบฮาร์โมนิก  ที่ใช้คำว่าอย่างง่ายเนื่องจากเคลื่อนที่พื้นฐานแบบฮาร์โมนิกมีหลายรูปแบบ (ซึ่งมีความยุ่งยากในการหา)  ความเร่งจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับการกระจัดแต่ทิศตรงข้าม

ตัวอย่างที่ 15.2 จากตัวอย่างที่ 15.1 เมื่อยกมวล  ขึ้น  แล้วปล่อยจากจุดหยุดนิ่งจงคำนวณหา  ก. ความถี่เชิงมุม  ข. แอมปลิจูด  ง. มุมเฟส

วิธีทำ  ก. ความถี่เชิงมุมของสปริงคือ

                                             =      

                                                =      

                                                =      

          ข. แอมปลิจูดคือการกระจัดสูงสุด 

          ค. เราทราบว่า  เมื่อ  จาก

                                             =      

                                             =      

                                         =      

                                              =      

 

 

 

 

ตัวอย่างที่ 15.3 จากตัวอย่างที่ 15.2 จงหาเวลาและความเร็วเมื่อมวล  เคลื่อนที่มาถึงตำแหน่งสมดุล

วิธีทำ  ต้องการหาเวลาเมื่อกำหนดตำแหน่งมาให้  ที่ตำแหน่งสมดุล  จากสมการตำแหน่งเป็นฟังก์ชั่นของเวลา

                                             =        

                                              =      

                                       =          

จากตัวอย่างที่ 15.2 เมื่อ  จะได้

                                            =      

                                              =      

                                                =      

                                                =      

          จากนั้นในสมการความเร็วที่เป็นฟังก์ชั่นของเวลา

                                             =      

                                                =        

                                                =      

                                                =      

ความเร็วเป็นลบ  แสดงว่ามวล  เคลื่อนที่ลง

ตัวอย่างที่ 15.4  จงหาสมการของ

ก. ความเร็วสูงสุด

ข. ความเร่งสูงสุด

ง. คาบของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก ในเทอมของความถี่เชิงมุมและอัมปลิจูด

          จากสมการที่ได้ศึกษามา

วิธีทำ  ก. จากสมการความเร็วเป็นฟังก์ชั่นของตำแหน่ง

                                   =      

 วัตถุจะมีความเร็วสูงสุดเมื่ออยู่ที่จุดสมดุล 

                                   =      

                                 =      

 

          ข. จากสมการความเร่งเป็นฟังก์ชั่นของตำแหน่ง  ความเร่งจะมีค่ามากสุด  เมื่อ  มีค่ามากสุด 

                                   =      

                                =      

          นอกจากนี้ผลลัพธ์ที่ได้ยังสามารถคำนวณได้จากสมการความเร็วเป็นฟังก์ชั่นของเวลา และความเร่งเป็นฟังก์ชั่นของเวลา

 

          ค. คาบการแกว่ง  สามารถหาได้จากสมการตำแหน่งเป็นฟังก์ชั่นของเวลา เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบแล้ววัตถุจะกลับมายังตำแหน่งเดิมจาก 

                                   =      

                                      =      

นั่นคือ

                       =      

                                      =      

                                  =      

                                    =      

                                   =      

เหมือนการเคลื่อนที่แบบวงกลม

 

15.3  ความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่แบบวงกลม

          เมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมดังรูปที่ 15.4 ความเร็วเชิงมุมคือ

                                   =      

                                =      

                                    =      

          ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วเชิงเส้นและความเร็วเชิงมุมคือ

                                    =                             

 ความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งสู่ศูนย์กลางและความเร็วเชิงมุมคือ

                              =                       =   

          รูปที่ 15.4                                           =      

 

ตำแหน่ง  ความเร็ว  และความเร่งของวัตถุเมื่อเขียนอยู่ในรูปฟังก์ชั่นของเวลา

                                      

                                   

                                   

          จะสังเกตได้ว่าสมการที่ได้คล้ายกับสมการการเคลื่อนที่ของมวลติดปลายสปริง  เมื่อ  หรือ  เป็นองค์ประกอบของการเคลื่อนที่แบบวงกลม  ซึ่งก็คือการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก

 

15.4 แรงและพลังงานในการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิกอย่างง่าย

          เมื่อมวล  ถูกกระทำด้วยแรง  ทำให้เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง  จากกฎการเคลื่อนที่ข้อสองของนิวตัน 

                                   =      

เนื่องจากวัตถุเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก

                                   =             =      

                                      =      

 

 

พิจารณาพลังงานศักย์ของสปริง จาก

                                   =      

                                =      

อินทิเกรตโดยให้พลังงานศักย์เป็นศูนย์  ที่จุดสมดุล

                               =      

                                   =      

แต่ความถี่เชิงมุมของวัตถุที่ติดปลายสปริงคือ   

                                   =      

นั่นคือพลังงานศักย์จะเป็นศูนย์ที่  และมีค่ามากที่สุดที่

 

พลังงานจลน์ของวัตถุจาก

                                   =      

เนื่องจากวัตถุเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก

                                   =      

                                      =      

                                   =      

จะเห็นว่าพลังงานจลน์จะมีค่ามากที่สุดที่จุดสมดุล  และเป็นศูนย์ที่        

ดังนั่นจะได้พลังงานรวมทั้งหมดของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิกอย่างง่ายคือ

                                  =      

                                      =       +

                                      =             =      

ตัวอย่างที่ 15.5 สปิงมีค่าคงตัวของสปริง    วางอยู่ในแนวระดับบนโต๊ะซึ่งไม่มีแรงเสียดทาน  ที่ปลายสปริงติดวัตถุมวล   เมื่อดึงวัตถุให้ยืดออก   จากตำแหน่งสมดุลแล้วปล่อยวัตถุจะเคลื่อนที่แแลซิมเปิลฮาร์โมนิก จงหา

ก.     แรงที่สปริงกระทำต่อวัตถุก่อนปล่อย

ข.     คาบภายหลังจากที่ปล่อยวัตถุ

ค.     แอมปลิจูดของการเคลื่อนที่

ง.      ความเร็วสูงสุดของวัตถุ

จ.      ความเร่งสูงสุดของวัตถุ

ฉ.     ความเร็ว  ความเร่ง พลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ได้ครึ่งทางจากตำแหน่งเริ่มต้นเข้าหาตำแหน่งสมดุล

ช.     พลังงานรวมทั้งหมดของการเคลื่อนที่

ซ.     การกระจัดของวัตถุเป็นฟังก์ชั่นของเวลา

 

วิธีทำ            ก.   หาแรงที่สปริงกระทำต่อวัตถุก่อนปล่อย

 

                              =          =      

                                  =      

ข.     หาคาบภายหลังจากที่ปล่อยวัตถุ

                          =                =      

                             =      

         

ค. หาแอมปลิจูดของการเคลื่อนที่ 

          แอมปลิจูดการกระจัดมากที่สุด  

ง. หาความเร็วสูงสุดของวัตถุ

                                 =            =      

                                      =      

                                      =      

                                      =      

          ความเร็วสูงสุดจะอยู่ที่จุดสมดุล  คือจุดที่พลังงานจลน์สูงสุด  จะมีสองค่า  คือขณะที่ผ่านจุดสมดุลขณะไปและกลับ

จ. หาความเร่งสูงสุดของวัตถุ

                                =      

                                       =      

                                      =      

                                      =      

          ความเร่งจะมีค่าสูงสุดที่ปลายสุดของเส้นทาง  นั่นคือความเร่งจะมีสองค่า   คือขณะที่แอมปลิจูลเท่ากับ  และ

ฉ. หาความเร็ว  ความเร่ง พลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ได้ครึ่งทางจากตำแหน่ง     เริ่มต้นเข้าหาตำแหน่งสมดุล

          เมื่อ                     =                   =      

                                    =      

                                      =      

                                      =      

                                      =      

                                    =                  =           

                                      =      

                                      =      

                                   =      

                                      =      

                                      =      

                                   =      

                                      =      

                                      =      

ช. หาพลังงานรวมทั้งหมดของการเคลื่อนที่

                                  =      

                                      =               =      

หรือ                             =                  =      

                                      =      

ซ.หาการกระจัดของวัตถุเป็นฟังก์ชั่นของเวลา

จาก                              =      

เมื่อ   ; และที่  ;  จะได้

                               =      

                                    =                 =      

จะได้

                         =          หรือ

                             =      

 

 

15.5 รูปแบบต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก

       ก. ลูกตุ้มนาฬิกาอย่างง่าย (Simple Pendulum)

          พิจารณาวัตถุที่ปลายเชือกเบาดังรูปที่ 15.5  แรงที่กระทำต่อวัตถุประกอบด้วย แรงโน้มถ่วง  กับแรงตึงเชือก  ให้   เป็นจุดหมุน  แรงตึงเชือกจะไม่ทำให้เกิดทอร์ก  แรงที่มีผลต่อการหมุนคือแรงโน้มถ่วง  จากสมการการหมุน

                               =      

                                =      

                    (ให้  คือความยาวเชือก)

                        =      

                                   =      

          เมื่อแกว่งเป็นมุมเล็ก ๆ จะได้ว่า          

                                         

           สมการที่ได้คือสมการการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก  ความเร่ง   

     เชิงมุมจะเป็นปฎิภาคโดยตรงกับการกระจัดเชิงมุม แต่ทิศตรงกันข้าม

 รูปที่ 15.5                เปรียบเทียบกับสมการการเคลื่อนที่ของมวลที่ติดปลายสปริง เมื่อเปรียบเทียบความเร่ง    การกระจัด  

          ดังนั้นสมการการเคลื่อนที่เชิงมุม  จะเป็นการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก  จะได้ความถี่เชิงมุมของการแกว่งแบบลูกตุ้มนาฬิกาอย่างง่าย

                                   =                    

ตัวอย่างที่ 15.6 จงหาความยาวเชือกของการแก่วงแบบลูกตุ้มนาฬิกาอย่างง่าย ที่ทำให้คาบการแก่วงมีค่า             

วิธีทำ                            =      

แต่                               =           =      

                                    =           =      

                                    =        

แทนค่าต่าง ๆ ลงในสมการ

                                    =      

                                      =      

          ข. ลูกตุ้มทอร์ชั่น (Torsional Pendulum)

           จากรูปที่ 15.6  เมื่อบิดมวลซึ่งติดอยู่ที่ปลายแท่งโลหะเบาเป็นมุมน้อย ๆ   โดยที่จุดกึ่งกลางของแท่งโลหะตรึงติดกับปลายลวดแล้วปล่อย  เส้นลวดจะทำให้เกิดทอร์คบนระบบมวลทั้งสองเกิดการบิดไปมารอบจุด  จะได้

 

                           =      

          เมื่อ  เรียกว่าค่าคงที่ของการบิด (torsion constant)

          จากสมการการหมุน

                      =      

                        =     

                          =        

          รูปที่ 15.6

         

          สมการที่ได้คือสมการการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก  ความเร่งเชิงมุมจะแปรผันตรงกับการกระจัดเชิงมุมโดยมีทิศทางตรงกันข้าม  จะได้ความถี่เชิงมุมของการแกว่งแบบลูกตุ้มทอร์ชั่นคือ

                                             =      

      คือโมเมนต์ความเฉื่อยของมวลทั้งสองที่ติดอยู่ที่ปลายแท่งโลหะเบา

 

ตัวอย่างที่ 15.7  จากรูปที่ 15.6 ถ้ามวลทั้งสองอยู่ห่างกัน    มวลแต่ละก้อนมีค่า  ถ้าคาบการแกว่งมีค่า  จงหาค่าคงที่ของการแกว่ง

วิธีทำ  จากความถี่เชิงมุมของการแกว่งแบบลูกตุ้มทอร์ชั่น

                                             =      

                                             =      

                                             =      

          เมื่อโมเมนต์ความเฉื่อยของมวลที่ติดอยู่ที่ปลายแท่งโลหะเบาและมีจุดหมุนอยู่ที่จุดหมุนอยู่ที่จุดกึ่งกลางของแท่งโลหะเบา

 

                                            =      

                                                =      

                                             =      

                                                =      

                                                =      

                                                =      

 

 

          ค.ลูกตุ้มฟิสิกัล (Physics Pendulum)

          ลูกตุ้มฟิสิกัลป์ประกอบด้วยวัตถุเนื้อเดียวกัน  โดยมีแรงโน้มถ่วงที่กระทำผ่านจุดศูนย์กลางมวล  ทำให้เกิดทอร์ก  จากรูปที่ 15.7 ไม้เบสบอลแขวนอยู่ที่ปลายด้านหนึ่ง  แรงโน้มถ่วงจะทำให้เกิดการหมุนรอบจุด  จากสมการการหมุน

                              =      

 

                      =      

                                   =      

          รูปที่ 15.7

 

          เมื่อ   และ  จะขึ้นอยู่กับตำแหน่งของจุดหมุน  ถ้าให้  แกว่งเป็นมุมน้อย ๆ จะได้   จะได้

                                             =      

          สมการที่ได้คือสมการการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิกอย่างง่าย  ความเร่งเชิงมุมจะแปรผันตรงกับการกระจัดเชิงมุมแต่มีทิศตรงกันข้าม  จะได้ความถี่เชิงมุมของการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาอย่างง่ายคือ

                                   =      

 

ตัวอย่างที่ 15.8 จากรูปที่ 15.7 จงหาโมเมนต์ความเฉื่อยของไม้เบสบอล

วิธีทำ  จากสมการความถี่เชิงมุมของการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาอย่างง่าย                   

                                   =      

                                    =      

          กำหนดให้

            โมเมนต์ความเฉื่อยของไม้เบสบอลรอบจุด   มีค่า  เมื่อ  เป็นค่าคงที่ ; เป็นมวลของ ไม้เบสบอล ;  คือความยาวของไม้เบสบอล  ;  คือระยะห่างจากจุดหมุนถึงจุดศูนย์กลางมวล  ;  คือคาบการแกว่ง

                                   =      

จาก

                                    =      

จะได้

                                    =      

          ให้    ;   และ 

                                    =      

                                      =      

                                   =      

          นั่นคือค่าโมเมนต์ความเฉื่อยของไม้เบสบอลเมื่อจุดหมุนอยู่ที่ปลาย จะมีค่ามากกว่า 1 ใน 3 ของโมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุรูปร่างสม่ำเสมอและมีจุดหมุนอยู่ที่ปลาย

 

ตัวอย่างที่ 15.9 ไม้คอร์ดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้าน  มีความหนาแน่น  ลอยอยู่ในน้ำ  จากนั้นกดให้ไม้คอร์ดจมลงไปมากกว่าระดับสมดุลดังรูปที่ 15.8  แล้วปล่อยให้ไม้คอร์ดเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก จงหาคาบของการสั่น

วิธีทำ  จากกฎการเคลื่อนที่ข้อสองของนิวตันเมื่อระบบสมดุล

                      =      

                  =      

                        =      

จากกฎของอาร์คิมิดีส

                    =      

                  =      

เมื่อ  คือความหนาแน่นของน้ำ ;   คือความหนาแน่นของไม้คอร์ด  ;    คือปริมาตรส่วนที่จม  ;   คือปริมาตรทั่งหมด

                   รูปที่ 15.8

 

จากฎข้อสองของนิวตัน  และจากกฎของอาร์คิมิดีส  เมื่อไม้คอร์ดมีการเคลื่อนที่ 

                                                   =      

                                       =        

                             =      

แต่                                             =      

                          =      

                                                 =      

จะได้ความเร่งของไม้คอร์ดคือ

                                                       =      

          นั่นคือความเร่งจะแปรผันตรงกับระยะที่จมแต่มีทิศตรงกันข้าม  สมการที่ได้คือสมการการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิกอย่างง่าย  โดยมีความถี่เชิงมุมคือ

                                                      =      

                                     

 

                                             =      

                                                =      

                                                =      

สรุป

กฎของฮุค   : 

สมการการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก

                  

                  

                  

                  

                  

ความถี่เชิงมุม

Spring          

Simple pendulum   

Torsional pendulum   

Physics pendulum   

                                                                                                                                   

 

 

 

                           

 

 

 
Bookmark This Page