DekGenius.com
Search :
Traditional Chinese medicine dictionary :   麻黄杏仁甘草石膏汤 The meaning is ...
   
  麻黄杏仁甘草石膏汤 (má huáng xìng rén gān cáo shí gāo tāng) The meaning is "组成:麻黄、石膏、杏仁、甘草。功用:辛凉疏表,清肺平喘。主治:外感风邪,邪热壅肺证。"
   
  ตำรับยาหมาหฺวางซิ่งเหรินกานฉ่าวสือกาว (หมาหฺวางซิ่งเหรินกานฉ่าวสือกาวทาง) The meaning is "ชื่อตำรับยา ประกอบด้วยตัวยาหมาหฺวาง สือกาว ซิ่งเหริน และกานฉ่าว สรรพคุณ: ขจัดภาวะโรคภายนอกด้วยยารสเผ็ดฤทธิ์เย็น ดับร้อนที่ปอด และระงับหอบ ข้อบ่งใช้: ภาวะโรคภายนอกเหตุลมร่วมกับเสฺยชี่ความร้อนอั้นในปอด"
   
  mahuangxingrengancaoshigao decoction The meaning is "a formula composed of mahuang, shigao, xingren and gancao. Actions: releasing exterior disease-condition with cool and pungent properties drugs, clearing lung heat and relieving dyspnea. Indication: exogenous pathogenic wind disease-condition with lung heat stagnation."
   
 
:: Back to Dictionary
   (ส่งเข้าทาง inbox facebook)
(Share ผ่าน social network)
 
<<BACK   NEXT>>
  พจนานุกรมศัพท์การแพทย์แผนจีน : คำอื่น ๆ  
     
  眉冲 (méi chōng) - จุดเหมยชง
命门 (mìng mén) - จุดมิ่งเหมิน
纳运结合 (nà yùn jié hé) - ประสานรับ-ลำเลียง
逆传 (nì chuán) - การลุกลามข้ามลำดับ
脾旺四时 (pí wàng sì shí) - ม้ามรุ่งโรจน์ 4 ฤดู
仆参 (pú cān) - จุดผูชาน
气脉常通 (qì mài cháng tōng) - ชี่และจิงลั่วคล่องเสมอ
气至病所 (qì zhì bìng suǒ) - ชี่ถึงตำแหน่งโรค
曲泉 (qū quán) - จุดชฺวีเฉฺวียน
三间 (sān jiān) - จุดซานเจียน
少府 (shào fǔ) - จุดซ่าวห่าย
神门 (shén mén) - จุดเสินเหมิน
十枣汤 (shí zǎo tāng) - ตำรับยาสือจ่าว
四逆汤 (sì nì tāng) - ตำรับยาซื่อนี่
天寿过度 (tiān shòu guò dù) - อายุขัยยืนยาว
卫分证 (wèi fèn zhènɡ) - ภาวะโรคระดับเว่ย
下法 (xià fǎ) - การขับถ่าย
行间 (xíng jiān) - จุดสิงเจียน
养老 (yǎng lǎo) - จุดหยางหล่าว
有神 (yǒu shén) - มีเสิน
中渎 (zhōng dú) - จุดจงตู๋
阿是穴 (ā shì xuè) - อาซื่อเซฺวี่ย
肠热腑实证 (cháng rè fǔ shí zhèng) - กลุ่มอาการลำไส้ร้อนแกร่ง
盗汗 (dào hàn) - เหงื่อลักออก
肺为娇脏 (fèi wéi jiāo zàng) - ปอดเป็นอวัยวะที่บอบบาง
肝主疏泄 (gān zhǔ shū xiè) - ตับควบคุมการกระจายและระบายของชี่
灰苔 (huī tāi) - ลิ้นมีฝ้าสีเทา
经外奇穴 (jīng wài qí xuè) - จุดฝังเข็มนอกระบบ
面色黄胖 (miàn sè huáng pàng) - ใบหน้าบวมฉุเหลือง
七情 (qī qíng) - ความสัมพันธ์ 7 ประเภทของการจัดยาร่วมหรือยากลุ่ม