Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
曲池
曲池
qū chí
手阳明经合穴。位于肘区,尺泽(LU 5)与肱骨外上髁连线的中点处。主治热病、头痛眩晕,耳聋、目赤、咽喉肿痛、齿痛,手臂肿痛、上肢不遂; 瘾疹、湿疹、瘰疬以及与风邪有关的皮肤病; 惊痫,癫狂等病症。
จุดชฺวีฉือ
ชฺวีฉือ
จุดเหอของเส้นลำไส้ใหญ่ อยู่บริเวณข้อศอก ตรงจุดกึ่งกลางระหว่างฉื่อเจ๋อ (LU 5) กับ lateral epicondyle ของกระดูกต้นแขน ข้อบ่งใช้: โรคที่มีไข้ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ หูตึง หูหนวก ตาแดง เจ็บคอ ปวดฟัน ปวดบวมมือ อัมพาตแขน; ลมพิษ ผิวหนังอักเสบ วัณโรคต่อมน้ำเหลืองที่คอ โรคผิวหนังอื่นๆ ที่เกิดจากลม; ลมชัก โรคจิตซึมเศร้า และคลุ้มคลั่ง
quchi
the he point of the large intestine meridian, located at the midpoint of the line connecting chize (LU 5) and the lateral epicondyle of the humerus. Indications: fever, headache, vertigo, hearing loss, redness of eyes, sore throat, toothache, pain of hand, upper limb paralysis, urticaria; eczema, scrofula and other dermatoses due to wind; convulsive epilepsy, depressive psychosis and mania.

More
曲骨(จุดชฺวีกู่) | 曲泉(จุดชฺวีเฉฺวียน) | 曲垣(จุดชฺวีหยวน) | 曲泽(จุดชฺวีเจ๋อ) | 颧髎(จุดเฉฺวียนเหลียว) | 全苔(ฝ้าเต็มลิ้น) | 缺盆(จุดเชฺวียเผิน) | 然谷(จุดหรานกู่) | 热痹(ปวดข้อชนิดร้อน) | 热汗(เหงื่อร้อน) | 热极生风证(ภาวะโรคร้อนจัดเกิดลม) | 人身之气(ชี่ของกายคน) | 人迎(จุดเหรินหยิง) | 人迎寸口(ชีพจรคอเทียบข้อมือ) | 日晡潮热(ไข้สูงตอนบ่าย) | 日月(จุดรื่อเยฺวี่ย) | 乳根(จุดหรู่เกิน) | 乳中(จุดหรู่จง) | 润燥化痰(เพิ่มความชุ่มสลายเสมหะ) | 弱脉(ชีพจรเบา) | 三部九候(遍诊法)(สามตำแหน่งเก้าส่วน (วิธีการตรวจถ้วนทั่ว)) | 三部诊法(วิธีตรวจสามตำแหน่ง) | 三间(จุดซานเจียน) | 三焦俞(จุดซานเจียวซู) | 散脉(ชีพจรกระจาย) | 三妙丸(ตำรับยาซานเมี่ยว) | 三阳病(โรคสามหยาง) | 三阳络(จุดซานหยางลั่ว) | 三阴病(โรคสามยิน) | 三阴交(จุดซานยินเจียว) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์