Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
阴陵泉
阴陵泉
yīn líng quán
足太阴经合穴。位于小腿内侧,在胫骨内侧髁下缘与胫骨内侧缘之间的凹陷中。主治腹痛,腹胀,泄泻,水肿,妇人阴部痛,痛经,小便不利,遗尿,遗精,腰膝肿痛等病症。
จุดยินหลิงเฉฺวียน
ยินหลิงเฉฺวียน
จุดเหอของเส้นม้าม อยู่บริเวณขาด้านใน ตรงร่องระหว่างรอยต่อแนวขอบล่างของ medial condyle กับขอบในของกระดูกแข้ง ข้อบ่งใช้: ปวดท้อง แน่นท้อง ท้องเสีย บวมน้ำ ปวดอวัยวะเ*ศสตรี ปวดประจำเดือน ปัสสาวะขัด กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะรดที่นอน ฝันเปียก ปวดเอว และปวดบวมเข่า
yinlingquan
the he point of the spleen meridian, located on the medial aspect of the leg, in the depression between the inferior border of the medial condyle and medial aspect of the tibia. Indications: abdominal pain, abdominal distention, diarrhea, edema, vulvodynia, dysmenorrhea, dysuria, urinary incontinence, enuresis, wet dream, low back pain, and pain and swelling of knee.

More
殷门(จุดยินเหมิน) | 淫气于筋(เติมชี่เลี้ยงเอ็น) | 银翘散(ตำรับยาหยินเชี่ยว) | 阴市(จุดอินซื่อ) | 阴水(บวมน้ำชนิดยิน) | 印堂(จุดยิ่นถาง) | 隐痛(ปวดรำคาญ) | 阴郄(จุดยินซี่) | 阴虚动风(ยินพร่องลมกระพือ) | 阴虚发热(ไข้จากยินพร่อง) | 阴阳之本(รากฐานยินหยาง) | 阴脏人(คนลักษณะยิน) | 膺窗(จุดอิงชวง) | 营分证(ภาวะโรคระดับหยิง) | 营复阴阳(หยิงไหลเวียนทั่วยินหยาง) | 营卫不和(หยิงเว่ยเสียสมดุล) | 营卫调和(หยิงเว่ยสมดุล) | 迎香(จุดหยิงเซียง) | 营阴(ยินชนิดหยิง) | 涌泉(จุดหย่งเฉฺวียน) | 有根(มีราก) | 有根苔(ฝ้าลิ้นมีราก) | 右归丸(ตำรับยายิ่วกุย) | 幽门(จุดยิวเหมิน) | 有神(มีเสิน) | 有胃(มีชี่กระเพาะอาหาร) | 游溢精气(จิงชี่ท่วมท้น) | 鱼际(จุดหยฺวีจี้) | 玉屏风散(ตำรับยายฺวี่ผิงเฟิง) | 郁热(ไข้จากชี่อัดอั้น) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์