DekGenius.com
Search :
Traditional Chinese medicine dictionary :   五枢 The meaning is ...
   
  五枢 (wǔ shū) The meaning is "位于下腹部,横平脐下3寸,髂前上棘内侧。主治疝气,少腹痛, 腰背痛,胯痛;赤白带下,月经不调等病症;全子宫切除术针刺麻醉常用穴。"
   
  จุดอู่ซู (อู่ซู) The meaning is "จุดฝังเข็มบริเวณท้องน้อย ระดับต่ำกว่าสะดือ 3 ชุ่น อยู่หน้าและใต้ต่อ anterior superior iliac spine ข้อบ่งใช้: ไส้เลื่อน ปวดท้องน้อยด้านข้าง ปวดหลังส่วนล่าง ปวดสะโพก ตกขาวปนเลือด และรอบเดือนผิดปกติ ยังเป็นจุดฝังเข็มช่วยเสริมการระงับความรู้สึกที่ใช้บ่อยในการผ่าตัดมดลูก"
   
  wushu The meaning is "an acupoint located on the lower abdomen, 3 cun below the horizontal line leveling with the umbilicus, on the medial aspect of the anterior superior iliac spine. Indications: hernia, iliac pain, low back pain, hip pain, bloody leukorrhea and irregular menstruation. It is commonly used in acupuncture anesthesia for hysterectomy."
   
 
:: Back to Dictionary
   (ส่งเข้าทาง inbox facebook)
(Share ผ่าน social network)
 
<<BACK   NEXT>>
  พจนานุกรมศัพท์การแพทย์แผนจีน : คำอื่น ๆ  
     
  屋翳 (wū yì) - จุดอูอี้
郄门 (xì mén) - จุดซี่เหมิน
下廉 (xià lián) - จุดเซี่ยเหลียน
小柴胡汤 (xiǎo chái hú tāng) - ตำรับยาเสี่ยวฉายหู
心包络 (xīn bāo luò) - เยื่อหุ้มหัวใจ
行间 (xíng jiān) - จุดสิงเจียน
血府 (xuè fǔ) - จวนแห่งเลือด
阳池 (yáng chí) - จุดหยางฉือ
翳风 (yì fēng) - จุดอี้เฟิง
营卫调和 (yíng wèi tiáo hé) - หยิงเว่ยสมดุล
脏腑气化 (zàng fǔ qì huà) - การแปรสภาพโดยชี่จ้างฝู่
支正 (zhī zhèng) - จุดจือเจิ้ง
浊阴走五脏 (zhuó yīn zǒu wǔ zàng) - สารยินสู่จ้างห้า
阿是穴 (ā shì xuè) - อาซื่อเซฺวี่ย
补血剂 (bǔ xuě jì) - ตำรับยาบำรุงเลือด
刺络拔罐法 (cì luò bá guàn fǎ) - วิธีครอบกระปุกแบบเคาะผิวหนัง
灯火灸 (dēng huǒ jiǔ) - การรมยาโดยใช้ไส้หญ้าปล้อง
飞腾八法 (fēi téng bā fǎ) -
腐苔 (fǔ tāi) - ฝ้าบนลิ้นมีลักษณะคล้ายเต้าหู้
归挤法 (guī jǐ fǎ) - การบีบรวบ
火候 (huǒ hòu) - ระดับความแรงของไฟที่ใช้ต้มยา
经络现象 (jīng luò xiàn xiàng) - การแสดงออกของเส้นลมปราณ
灵龟八法 (líng guī bā fǎ) - การฝังเข็มแบบหลิงกุยปา
皮部 (pí bù) - แนวเขตผิวหนัง
气脱 (qì tuō) - ชี่หลุด
乳蛾 (rǔ é) - ต่อมทอนซิลอักเสบ
十二经脉 (shí èr jīng mài) - 12 เส้นลมปราณ
弹拨法 (tán bō fǎ) - การดีด หรือการดึงปล่อย
温服 (wēn fú) -
邪气 (xié qì) - ปัจจัยก่อโรค