Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
箕门
箕门
jī mén
位于股前区,髌底内侧端与冲门(SP 12)连线上1/3与下2/3的交点(长收肌和缝匠肌交角的动脉搏动处)。主治小便不利,遗尿等病症。
จุดจีเหมิน
จีเหมิน
จุดฝังเข็มบริเวณต้นขาด้านหน้า ตรงจุดแบ่งระหว่าง 1/3 บนกับ 2/3 ล่าง ของเส้นที่เชื่อมระหว่างขอบในของกระดูกสะบ้ากับชงเหมิน (SP 12) (ตรงตำแหน่งบรรจบของกล้ามเนื้อ adductor longus กับ sartorius บริเวณคลำได้ชีพจร) ข้อบ่งใช้: ปัสสาวะขัด กลั้นปัสสาวะไม่ได้ และปัสสาวะรดที่นอน
jimen
an acupoint located on the anterior thigh, at the point between upper 1/3 and lower 2/3 of the line connecting the medial aspect of the patellar base and chongmen (SP 12) (at the confluent point of the adductor longus and sartorius muscles where the artery pulsates). Indications: dysuria, urinary incontinence and enuresis.

More
极泉(จุดจี๋เฉฺวียน) | 肌肉解利(กล้ามเนื้อลื่นเรียบ) | 脊中(จุดจี่จง) | 颊车(จุดเจี๋ยเชอ) | 加味逍遥散(ตำรับยาเจียเว่ยเชียวหยาว) | 睑废(หนังตาตก ) | 肩井(จุดเจียนจิ่ง) | 建里(จุดเจี้ยนหลี่) | 肩髎(จุดเจียนเหลียว) | 健脾疏肝(บำรุงม้ามระบายตับ) | 间使(จุดเจียนสื่อ) | 肩外俞(จุดเจียนว่ายซู) | 睑弦(ขอบเปลือกตา) | 肩髃(จุดเจียนหยฺวี) | 肩贞(จุดเจียนเจิน) | 肩中俞(จุดเจียนจงซู) | 交会穴 (จุดตัดกัน) | 角孙(เจี่ยวซุน) | 交通心肾(เชื่อมประสานหัวใจ-ไต) | 交信(เจียวซิ่น) | 解痉(คลายอาการเกร็ง) | 解溪(จุดเจฺย่ซี) | 金门(จุดจินเหมิน) | 津能载气(จินนำพาชี่) | 金破不鸣(ปอดพร่องเสียงหาย) | 金实不鸣(ปอดแกร่งเสียงหาย) | 筋缩(จุดจินซัว) | 金锁固精丸(ตำรับยาจินสั่วกู้จิง) | 近血(ถ่ายเป็นเลือดสด) | 京骨(จิงกู่) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์