Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
解溪
解溪
jiě xī
足阳明经经穴。位于踝区,踝关节前面中央凹陷中,在踇长伸肌腱与趾长伸肌腱之间。主治头痛,眩晕,癫狂,下肢痿痹,足踝无力,腹胀,便秘等病症。
จุดเจฺย่ซี
เจฺย่ซี
จุดจิงของเส้นกระเพาะอาหาร ตรงรอยบุ๋มอยู่กึ่งกลางรอยพับข้อเท้าด้านหน้า ระหว่างเอ็นกล้ามเนื้อ extensor pollicis longus กับ extensor digitorum longus ข้อบ่งใช้: ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง ขาลีบ ขาอ่อนแรง ข้อเท้าอ่อนแรง แน่นท้อง และท้องผูก
jiexi
the jing point of the stomach meridian, located in the depression at the anterior aspect of the ankle joint, between the extensor pollicis longus and extensor digitorum longus tendon. Indications: headache, vertigo, depressive psychosis, mania, hypotrophy or flaccid paralysis of lower limb, weakness of ankle, abdominal distention and constipation.

More
金门(จุดจินเหมิน) | 津能载气(จินนำพาชี่) | 金破不鸣(ปอดพร่องเสียงหาย) | 金实不鸣(ปอดแกร่งเสียงหาย) | 筋缩(จุดจินซัว) | 金锁固精丸(ตำรับยาจินสั่วกู้จิง) | 近血(ถ่ายเป็นเลือดสด) | 京骨(จิงกู่) | 精化为气(จิงแปรเป็นชี่) | 惊悸(ตกใจใจสั่น) | 京门(จุดจิงเหมิน) | 睛明(จุดจิงหมิง) | 精气化神(จิงชี่แปรเป็นเสิน) | 精气溢泻(จิงชี่เอ่อท้น) | 经渠(จุดจิงฉฺวี) | 精神专直(จิตมีสมาธิ) | 精室(ห้องเก็บจิง) | 泾溲不利(หนักเบาไม่คล่อง) | 鸠尾(จุดจิวเหว่ย) | 九味羌活汤(ตำรับยาจิ่วเว่ยเชียงหัว) | 九仙散(ตำรับยาจิ่วเซียนส่าน) | 举法(วิธีแตะ) | 巨骨(จฺวี้กู่) | 巨髎(จุดจฺวี้เหลียว) | 居髎(จุดจฺวีเหลียว) | 巨阙(จุดจฺวี้เชวี่ย) | 决渎之官(อวัยวะระบายน้ำ) | 绝汗(เหงื่อท่วม) | 厥阴病证(ภาวะโรคเจฺวี๋ยยิน) | 厥阴俞(จุดเจฺวี๋ยยินซู) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์