DekGenius.com
Search :
Traditional Chinese medicine dictionary :   手三阳经 The meaning is ...
   
  手三阳经 (shǒu sān yáng jīng) The meaning is "手阳明大肠经、手太阳小肠经和手少阳三焦经,分布在手臂的外侧,属表,由手走头,所以叫手三阳经。"
   
  เส้นลมปราณหยางของมือ 3 เส้น (โส่วซานหยางจิง) The meaning is "ประกอบด้วย เส้นลมปราณมือหยางหมิงลำไส้ใหญ่ เส้นลมปราณมือไท่หยางลำไส้เล็ก และเส้นลมปราณมือเส้าหยางซานเจียว เส้นลมปราณหยางของมือทั้ง 3 เส้น กระจายเส้นทางอยู่บนแขนด้านนอก จัดเป็นเส้นลมปราณภายนอก ทั้ง 3 เส้นมีจุดเริ่มต้นที่มือ แล้วไหลเวียนผ่านแขนขึ้นไปยังศีรษะ"
   
  three yang meridians of hand The meaning is "includes the large intestine meridian of hand yangming, small intestine meridian of hand taiyan and the sanjiao meridian of hand shaoyang. The three yang meridians of hand distributed on the lateral side of arms belong to exterior meridians. They origina"
   
 
:: Back to Dictionary
   (ส่งเข้าทาง inbox facebook)
(Share ผ่าน social network)
 
<<BACK   NEXT>>
  พจนานุกรมศัพท์การแพทย์แผนจีน : คำอื่น ๆ  
     
  手太阳小肠经 (shǒu tài yáng xiǎo cháng jīng) - เส้นลมปราณมือไท่หยางลำไส้เล็ก
受盛化物 (shòu shèng huà wù) - รับและแปรสภาพ
输穴 (shū xuè) - จุดซู
水谷精微 (shuǐ gǔ jīng wēi) - สารจำเป็น
太极拳 (tài jí quán) - มวยไท่จี๋ หรือมวยไท่เก๊ก
体表解剖标志取穴法 (tè dìng xuè) - จุดพิเศษ
挑刺法 (tiǎo cì fǎ) - วิธีการใช้เข็มสะกิด
外因 (wài yīn) - สาเหตุก่อโรคภายนอก
温和灸 (wēn hé jiǔ) - การรมยาแบบพออุ่น
五行相克 (wǔ xíng xiāng kè) - การข่มในความสัมพันธ์ของปัญจธาตุ
相畏 (xiāng wèi) - ตัวยาข่มกัน
心肝血虚证 (xīn gān xuè xū zhèng) - กลุ่มอาการจากเลือดของหัวใจและตับพร่อง
虚 (xū) - พร่อง
阳病治阴 (yáng bìng zhì yīn) - โรคหยางรักษาอิน
阴胜则寒 (yīn shèng zé hán) - อินมากทำให้หนาว
营血 (yíng xuè) -
真热假寒 (zhēn rè jiǎ hán) - ร้อนจริงเย็นลวง (โรคร้อนแสดงอาการเย็นเทียม)
稚阳 (zhì yáng) -
暗经 (àn jīng) - ประจำเดือนแฝง
扁平胸 (biǎn píng xiōng) - ทรวงอกแบน
插药疗法 (chā yào liáo fǎ) - วิธีเสียบยารักษา
赤脉下垂 (chì mài xià chuí) - หลอดเลือดฝอยย้อยลง
大经 (dà jīng) - เส้นจิงใหญ่
夺气 (duó qì) - ชี่ถูกพราก
浮郄 (fú xì) - จุดฝูซี่
喉痹 (hóu bì) - เจ็บคอหอย
近血 (jìn xuè) - ถ่ายเป็นเลือดสด
理中丸 (lǐ zhōng wán) - ตำรับยาหลี่จง
脾虚带下 (pí xū dài xià) - ม้ามพร่องตกขาว
曲骨 (qū gǔ) - จุดชฺวีกู่