DekGenius.com
Search :
Traditional Chinese medicine dictionary :   阳溪 The meaning is ...
   
  阳溪 (yáng xī) The meaning is "手阳明经经穴。位于腕区,腕背侧远端横纹桡侧,桡骨茎突远端,解剖学“鼻咽窝”凹陷中。主治目赤肿痛、齿痛、咽喉肿痛,头痛、耳聋、耳鸣,以及手腕肿痛或无力等病症。"
   
  จุดหยางซี (หยางซี) The meaning is "จุดจิงของเส้นลำไส้ใหญ่ อยู่ปลายสุดเส้นข้อมือด้าน radial ตรงส่วนปลายของ styloid process ของกระดูก radius ตำแหน่ง snuff box ข้อบ่งใช้: ตาอักเสบ ปวดฟัน เจ็บคอ ปวดศีรษะ หูมีเสียงดัง หูตึง หูหนวก และข้อมือปวดบวมหรืออ่อนแรง"
   
  yangxi The meaning is "the jing point of the large intestine meridian, located on the radial side of the dorsal wrist crease at the distal end of the radial styloid process, i.e. in the anatomical snuff box. Indications: inflammation of eye, toothache, sore throat; headache, hearing loss, tinnitus; pain and swelling or weakness of wrist."
   
 
:: Back to Dictionary
   (ส่งเข้าทาง inbox facebook)
(Share ผ่าน social network)
 
<<BACK   NEXT>>
  พจนานุกรมศัพท์การแพทย์แผนจีน : คำอื่น ๆ  
     
  液门 (yè mén) - จุดเย่เหมิน
阴廉 (yīn lián) - จุดยินเหลียน
印堂 (yìn táng) - จุดยิ่นถาง
营复阴阳 (yíng fù yīn yáng) - หยิงไหลเวียนทั่วยินหยาง
有胃 (yǒu wèi) - มีชี่กระเพาะอาหาร
脏病多虚 (zàng bìng duō xū) - โรคจ้างมักพร่อง
秩边 (zhì biān) - จุดจื้อเปียน
中极 (zhōng jí) - จุดจงจี๋
壮热 (zhuàng rè) - ไข้สูงลอย
阿是穴 (ā shì xuè) - อาซื่อเซฺวี่ย
别络 (bié luò) - เส้นลั่วใหญ่ 15 เส้น
常色 (cháng sè) - สีหน้าปกติ
大肠湿热证 (dà cháng shī rè zhèng) - กลุ่มอาการลำไส้ใหญ่ร้อนชื้น
电针疗法 (diàn zhēn liáo fǎ) - การรักษาโดยการกระตุ้นเข็มด้วยไฟฟ้า
飞法 (fēi fǎ) - การกระตุ้นเข็มแบบนกบิน
浮络 (fú luò) - เส้นลั่วที่กระจายอยู่ในระดับผิวหนัง
隔物灸 (gé wù jiǔ) - การรมยาโดยมีวัสดุคั่น
洪脉 (hóng mài) - ชีพจรใหญ่และมีพลัง
交会穴 (jiāo huì xuè) - จุดตัดกันของเส้นลมปราณ
灸剂 (jǐu jì) - ยาม้วนลนไฟ
脉象  (mài xiàng) - ลักษณะชีพจร
脾为生化之源 (pí wéi shēng huà zhī yuán) - ม้ามเป็นแหล่งสร้างและแปรสภาพ
气陷证 (qì xiàn zhèng) - กลุ่มอาการชี่จมลงล่าง
乳蛾 (rǔ é) - ต่อมทอนซิลอักเสบ
实 (shí) - เกิน หรือมากเกิน หรือแกร่ง
四气 (sì qì) - คุณสมบัติ 4 อย่างของยาจีน
亡阳证 (wáng yáng zhèng) - กลุ่มอาการหยางดับ
相畏 (xiāng wèi) - ตัวยาข่มกัน
徐发 (xú fā) -
阳维脉 (yáng wéi mài) - เส้นลมปราณหยางเหวย์