Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
阳谷
阳谷
yáng gǔ
手太阳经经穴。位于腕后区,在尺骨茎突与三角骨之间的凹陷中。主治头痛,眩晕,耳鸣,耳聋;热病,癫狂,痫,抽搐;颈颔肿,臂外侧痛,腕痛等病症。
จุดหยางกู่
หยางกู่
จุดจิงของเส้นลำไส้เล็ก อยู่บริเวณข้อมือ ตรงรอยบุ๋มระหว่าง styloid process ของกระดูก ulna กับกระดูก triquetrum ข้อบ่งใช้: ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ หูมีเสียงดัง หูตึง หูหนวก โรคที่มีไข้ โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง ลมชัก ชักกระตุก บวมใต้คาง ปวดแขนด้านนอก และปวดข้อมือ
yanggu
the jing point of the small intestine meridian, located on the ulnar side of the wrist, in the depression between the ulnar styloid process and triquetral bone. Indications: headache, vertigo, tinnitus, hearing loss, febrile disease, depressive psychosis, mania, epilepsy, convulsion, submandibular swelling, pain of lateral arm and wrist pain.

More
阳黄(เหลืองชนิดหยาง) | 阳交(จุดหยางเจียว) | 养老(จุดหยางหล่าว) | 阳陵泉(จุดหยางหลิงเฉฺวียน) | 阳明病(โรคหยางหมิง) | 阳明腑证(ภาวะโรคฝู่หยางหมิง) | 阳明经证(ภาวะโรคเส้นหยางหมิง) | 阳水(บวมน้ำชนิดหยาง) | 阳溪(จุดหยางซี) | 阳脏人(คนลักษณะหยาง) | 腰俞(จุดยาวซู) | 腰阳关(จุดยาวหยางกฺวาน) | 液门(จุดเย่เหมิน) | 以常衡变(ความปกติเป็นเกณฑ์วัด) | 翳风(จุดอี้เฟิง) | 乙癸同源(ตับไตกำเนิดเดียวกัน) | 以母为基,以父为楯(แม่เป็นฐาน พ่อเป็นคาน) | 阴廉(จุดยินเหลียน) | 阴陵泉(จุดยินหลิงเฉฺวียน) | 殷门(จุดยินเหมิน) | 淫气于筋(เติมชี่เลี้ยงเอ็น) | 银翘散(ตำรับยาหยินเชี่ยว) | 阴市(จุดอินซื่อ) | 阴水(บวมน้ำชนิดยิน) | 印堂(จุดยิ่นถาง) | 隐痛(ปวดรำคาญ) | 阴郄(จุดยินซี่) | 阴虚动风(ยินพร่องลมกระพือ) | 阴虚发热(ไข้จากยินพร่อง) | 阴阳之本(รากฐานยินหยาง) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์