Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
阳陵泉
阳陵泉
yáng líng quán
足少阳经合穴。位于小腿外侧,腓骨头前下方凹陷中。主治胁痛,口苦,呕吐,吞酸;膝肿痛,下肢痿痹及麻木等病症。
จุดหยางหลิงเฉฺวียน
หยางหลิงเฉฺวียน
จุดเหอของเส้นถุงน้ำดี อยู่บริเวณขาด้านนอก ตรงแอ่งข้างหน้าและใต้ต่อหัวกระดูกน่อง ข้อบ่งใช้: ปวดสีข้าง ปากขม อาเจียน เรอเปรี้ยว ปวดบวมเข่า ชาขา ขาลีบ และขาอ่อนแรง
yanglingquan
the he point of the gallbladder meridian, located on the lateral aspect of the leg, in the depression antero-inferior to the fibular head. Indications: hypochondriac pain, bitter taste, vomiting, acid belching, swelling and pain of knee, numbness and hypotrophy or flaccid paralysis of lower limb.

More
阳明病(โรคหยางหมิง) | 阳明腑证(ภาวะโรคฝู่หยางหมิง) | 阳明经证(ภาวะโรคเส้นหยางหมิง) | 阳水(บวมน้ำชนิดหยาง) | 阳溪(จุดหยางซี) | 阳脏人(คนลักษณะหยาง) | 腰俞(จุดยาวซู) | 腰阳关(จุดยาวหยางกฺวาน) | 液门(จุดเย่เหมิน) | 以常衡变(ความปกติเป็นเกณฑ์วัด) | 翳风(จุดอี้เฟิง) | 乙癸同源(ตับไตกำเนิดเดียวกัน) | 以母为基,以父为楯(แม่เป็นฐาน พ่อเป็นคาน) | 阴廉(จุดยินเหลียน) | 阴陵泉(จุดยินหลิงเฉฺวียน) | 殷门(จุดยินเหมิน) | 淫气于筋(เติมชี่เลี้ยงเอ็น) | 银翘散(ตำรับยาหยินเชี่ยว) | 阴市(จุดอินซื่อ) | 阴水(บวมน้ำชนิดยิน) | 印堂(จุดยิ่นถาง) | 隐痛(ปวดรำคาญ) | 阴郄(จุดยินซี่) | 阴虚动风(ยินพร่องลมกระพือ) | 阴虚发热(ไข้จากยินพร่อง) | 阴阳之本(รากฐานยินหยาง) | 阴脏人(คนลักษณะยิน) | 膺窗(จุดอิงชวง) | 营分证(ภาวะโรคระดับหยิง) | 营复阴阳(หยิงไหลเวียนทั่วยินหยาง) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์