Responsive image


คำศัพท์แพทย์จีน

Dictionary Traditional Chinese medicine
Main Back Next
阳纲
阳纲
yáng gāng
位于脊柱区,第10胸椎棘突下,后正中线旁开3寸。主治食饮 不下,肠鸣,泄泻,小便黄赤等病症。
จุดหยางกาง
หยางกาง
จุดฝังเข็มบริเวณหลัง ห่างจากขอบล่างของปุ่มกระดูกสันหลังอกที่ 10 ตามแนวระนาบ 3 ชุ่น ข้อบ่งใช้: กลืนไม่ลง ท้องร้อง ท้องเสีย และปัสสาวะเหลืองเข้ม
yanggang
an acupoint located on the back, 3 cun lateral to the lower border of the 10th thoracic spinous process, Indications: aphagia, borborygmus, diarrhea and dark urine.

More
阳谷(จุดหยางกู่) | 阳黄(เหลืองชนิดหยาง) | 阳交(จุดหยางเจียว) | 养老(จุดหยางหล่าว) | 阳陵泉(จุดหยางหลิงเฉฺวียน) | 阳明病(โรคหยางหมิง) | 阳明腑证(ภาวะโรคฝู่หยางหมิง) | 阳明经证(ภาวะโรคเส้นหยางหมิง) | 阳水(บวมน้ำชนิดหยาง) | 阳溪(จุดหยางซี) | 阳脏人(คนลักษณะหยาง) | 腰俞(จุดยาวซู) | 腰阳关(จุดยาวหยางกฺวาน) | 液门(จุดเย่เหมิน) | 以常衡变(ความปกติเป็นเกณฑ์วัด) | 翳风(จุดอี้เฟิง) | 乙癸同源(ตับไตกำเนิดเดียวกัน) | 以母为基,以父为楯(แม่เป็นฐาน พ่อเป็นคาน) | 阴廉(จุดยินเหลียน) | 阴陵泉(จุดยินหลิงเฉฺวียน) | 殷门(จุดยินเหมิน) | 淫气于筋(เติมชี่เลี้ยงเอ็น) | 银翘散(ตำรับยาหยินเชี่ยว) | 阴市(จุดอินซื่อ) | 阴水(บวมน้ำชนิดยิน) | 印堂(จุดยิ่นถาง) | 隐痛(ปวดรำคาญ) | 阴郄(จุดยินซี่) | 阴虚动风(ยินพร่องลมกระพือ) | 阴虚发热(ไข้จากยินพร่อง) |

ตัวอย่าง ฉันรักประเทศไทย
แปลภาษาคาราโอเกะ :: การเขียนชื่อไทยเป็นอังกฤษ :: วิธีเขียนภาษาคาราโอเกะ :: ทำภาพคาราโอเกะ :: แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดภาษาไทย
แชร์