DekGenius.com
Search :
Traditional Chinese medicine dictionary :   阳跷脉 The meaning is ...
   
  阳跷脉 (yáng qiáo mài) The meaning is "起于外踝下申脉穴,经外踝后上行腓骨后缘,经股部外侧,再沿髋、胁、肩、颈的外侧,上夹口角,到达目内眦,与手足太阳经、阴跷脉会合,再上行经额,与足少阳胆经会于风池。"
   
  เส้นลมปราณหยางเฉียว (หยางเฉียวม่าย ) The meaning is "เริ่มต้นจากจุดเซินม่าย (BL 62) ผ่านตาตุ่มนอกขึ้นมาหลังกระดูกฟิบูลา ผ่านด้านข้างต้นขา ผ่านสะโพก ชายโครง ไหล่ ผ่านขึ้นไปวนรอบปาก แล้วผ่านไปที่หัวตา บรรจบกับเส้นลมปราณไท่หยางของมือและเท้า และเส้นลมปราณอินเฉียว จากนั้นผ่านต่อขึ้นไปพบเส้นลมปราณเท้าเส้าหยางถุงน"
   
  yang heel vessel The meaning is "begins from shen mai (BL 62), goes upward to the posterior of the fibula after passing the lateral malleolus, passes the lateral aspect of the femur, goes upward to the hip, hypochondria, shoulder, and then travels to the inner canthus by arounding the mo"
   
 
:: Back to Dictionary
   (ส่งเข้าทาง inbox facebook)
(Share ผ่าน social network)
 
<<BACK   NEXT>>
  พจนานุกรมศัพท์การแพทย์แผนจีน : คำอื่น ๆ  
     
  阳损及阴 (yáng sǔn jí yīn) - หยางอ่อนแรงมีผลถึงอิน
腰为肾之府 (yāo wéi shèn zhī fǔ) - เอวเป็นที่พำนักของไต
遗尿 (yí niào) - ปัสสาวะรดที่นอน
阴平阳秘 (yīn píng yáng mì) - อินหยางสอดคล้องกลมกลืน
阳维脉 (yáng wéi mài) - เส้นลมปราณหยางเหวย์
阴阳互根 (yīn yáng hù gēn) - อินและหยางเกื้อกูลต่อกัน
涌吐剂 (yǒng tǔ jì) - ตำรับยาทำให้อาเจียน
燥性干涩 (zào xìng gān sè) - ความแห้งมีลักษณะแห้งและหดย่น
诊尺肤 (zhěn chǐ fū) - การคลำตรวจผิวหนังด้านในปลายแขน
直刺 (zhí cì) - แทงฉาก
中医诊断学 (zhōng yī zhěn duàn xué) - การวินิจฉัยโรคด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีน
左右配穴法 (zuǒ yòu pèi xuè fǎ) - การจับคู่จุดแบบซ้ายและขวา
背冷 (bèi lěng) - เย็นหลัง
表热证 (biǎo rè zhèng) - ภาวะโรคร้อนภายนอก
插药疗法 (chā yào liáo fǎ) - วิธีเสียบยารักษา
承浆 (chéng jiāng) - จุดเฉิงเจียง
纯阳之体 (chún yáng zhī tǐ) - ร่างกายเป็นหยางบริสุทธิ์
大杼 (dà zhù) - จุดต้าจู้
恶色 (è sè) - สีหน้าหม่น
复溜 (fù liū) - จุดฟู่ลิว
汗法 (hàn fǎ) - การขับเหงื่อ
肌肉解利 (jī ròu xiè lì) - กล้ามเนื้อลื่นเรียบ
决渎之官 (jué dú zhī guān) - อวัยวะระบายน้ำ
六味地黄丸 (liù wèi dì huáng wán) - ตำรับยาลิ่วเว่ยตี้หฺวาง
脾阴 (pí yīn) - ยินม้าม
丘墟 (qiū xū) - จุดชิวซฺวี
少阴病 (shào yīn bìnɡ) - โรคซ่าวยิน
水道 (shuǐ dào) - จุดสุ่ยต้าว
条口 (tiáo kǒu) - จุดเถียวโข่ว
下巨虚 (xià jù xū) - จุดเซี่ยจฺวี้ซฺวี