|
|||||||||||||||||||||||||||||||||
หน้าหลัก | บทที่ 1 | บทที่ 2 | บทที่ 3 | บทที่ 4 | บทที่ 5 | บทที่ 6 | บทที่ 7 | บทที่ 8 | บทที่ 9 | บทที่ 10 | บทที่ 11 | บทที่ 12 | บทที่ 13 | บทที่ 14 | บทที่ 15 | |
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
เนื้อหาประกอบด้วย
1.1 คำจำกัดความของตำแหน่งและการกระจัด
1.2 คำจำกัดความของความเร็วเฉลี่ย
1.3 คำจำกัดความของความเร็วขณะใดขณะหนึ่งและอัตราเร็ว
1.4 คำจำกัดความของความเร่งเฉลี่ยและความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง
1.5 การเคลื่อนที่เมื่อความเร่งคงที่
1.6 การตกอิสระของวัตถุ
1.7 สมการจลศาสตร์และการแก้สมการโดยใช้แคลลูลัส
ในบทนี้จะศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุใน 1 มิติ โดยไม่สนใจถึงสาเหตุที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่เรียกว่า จลศาสตร์
1.1 คำจำกัดความของตำแหน่งและการกระจัด
ก่อนจะทำความเข้าใจเรื่องต่าง ๆ ในหัวข้อต่อ ๆ ไป ต้องทราบความหมายตำแหน่งของวัตถุก่อน พิจารณารูปที่ 1.1
รูปที่ 1.1 รูปที่ 1.2
ตำแหน่ง คือบริเวณที่ตั้งของวัตถุ (รถตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง ) ในระบบพิกัดฉาก
การกระจัด คือการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุ พิจารูปที่ 1.2 เมื่อรถเปลี่ยนตำแหน่งจาก ไปยัง ตำแหน่ง จากเงื่อนไขข้างต้นสามารถนำมาเขียนเป็นสมการทางคณิตศาสตร์ได้ดังนี้
ตำแหน่ง
นิยามการกระจัด
ตัวอย่างที่ 1.1 จากรูปเป็นกราฟการเดินทางท่องเที่ยวไปเชียงใหม่โดยทางรถยนต์ เมื่อจุดเริ่มต้นอยู่ที่มหาวิทยาลัยรังสิต ดังรูปที่ 1.2 จงคำนวณหา
ก. ตำแหน่งของรถยนต์ที่
ข. ตำแหน่งของรถยนต์ที่
ค. การกระจัดภายในเวลา
ง. การกระจัดทั้งหมด
รูปที่ 1. 2
วิธีทำ
ก. จากกราฟ
ข. จากกราฟ
ค. จากคำจำกัดความของการกระจัด
=
=
ง. จากกราฟการกระจัดทั้งหมด =
1.2 คำจำกัดความของความเร็วเฉลี่ย
จากหัวข้อที่ 1.1 เมื่อทราบตำแหน่งของวัตถุแล้วในหัวข้อต่อไปจะอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งอย่างรวดเร็ว
ความเร็วเฉลี่ย คืออัตราการเปลี่ยนแปลงการกระจัดต่อช่วงเวลา
คำจำกัดความของความเร็วเฉลี่ยเมื่อเขียนในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์
ตัวอย่างที่ 1.2 จากโจทย์ข้อ 1.1 จงคำนวณหา
ก. ความเร็วเฉลี่ยในการเดินทางจาก ถึง
ข. ความเร็วเฉลี่ยเมื่อสิ้นสุดการเดินทาง
วิธีทำ จากคำจำกัดความของความเร็วเฉลี่ย
ก. = =
=
=
= ข.
= =
=
=
จากตัวอย่างข้างต้นแสดงให้เห็นถึงการเลื่อนตำแหน่ง พิจารณาการเคลื่อนตำแหน่งของวัตถุภายในเวลา 2 ชั่วโมง จากช่วงเวลา ถึง และจาก ถึง ความเร็วเฉลี่ยภายในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงในกรณีเช่นนี้หาไม่ได้เนื่องจากช่วงเวลาไม่ต่อเนื่อง
1.3 นิยามความเร็วขณะใดขณะหนึ่งและอัตราเร็ว
จากรูปที่ 1.3 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตำแหน่งกับเวลา เป็นกราฟเส้นตรงความเร็วเฉลี่ยคือความชัน (slope) ของกราฟ
เนื่องจาก
อัตราเร็วเฉลี่ย คือขนาดของเร็วเฉลี่ย เป็นการกระจัดต่อช่วงเวลา
รูปที่ 1.3
จากรูปที่ 1.4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตำแหน่งกับเวลา เป็นกราฟเส้นโค้ง ความเร็วเฉลี่ย (ความชัน) จะมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับขนาดของ ถ้า มีค่าน้อยมาก ๆ เราสามารถหา ความชัน ได้จากเส้นสัมผัส (tangent line) ส่วนโค้ง ความเร็วทีได้เรียกว่าความเร็วขณะใดขณะหนึ่งนั่นคือ
=
สามารถเขียนอยู่ในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์ได้ดังนี้
รูปที่ 1.4 =
นั่นคือความเร็วขณะใดขณะหนึ่งเป็นการกระจัดต่อเวลาในช่วงเวลาสั้นมาก ๆ หรือเป็นความเร็วที่จุดใดจุดหนึ่งของการเคลื่อนที่ เช่นความเร็วขณะขับรถสังเกตุได้จากเข็มไมล์ขณะนั้น ดังรูปที่ 1.5
รูปที่ 1.5
ตัวอย่างที่ 1.3 โยนลูกบอลขึ้นตามแนวดิ่งตำแหน่งของลูกบอล ณ.เวลา ใด ๆ คือ
ก. จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับระยะทาง
ข. ความเร็วเฉลี่ยในช่วง 2 วินาทีแรก
ค. ความเร็วเฉลี่ยในช่วง 1 วินาทีแรก
ง. ความเร็วที่เวลา
วิธีทำ
ข. จากคำจำกัดความของความเร็วเฉลี่ย
=
= =
= =
=
=
= =
ค. จากคำจำกัดความของความเร็วเฉลี่ย
=
= =
= =
=
=
= =
ง. ความเร็วที่ คือความเร็วขณะใดขณะหนึ่งจะได้
=
=
เมื่อ
=
=
ข้อสังเกต จากตัวอย่างข้างต้นสังเกตได้ว่าในขณะที่ช่วงเวลาสั้นลงความเร็วเฉลี่ยจะมีค่าใกล้กับความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง
คำจำกัดความของอัตราเร็วคือขนาดของความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง อัตราเร็วจะมีค่าเป็นบวกเสมอ ในขณะที่ความเร็วมีได้ทั้งค่าบวกและค่าลบ ข้อแตกต่างระหว่างอัตราเร็วและความเร็วจะสังเกตเห็นได้ง่ายขึ้น เมื่อความเร็วคิดอยู่ในรูปของเวกเตอร์ซึ่งจะศึกษาไปในการเคลื่อนที่ 2 มิติ
1.4 คำจำกัดความของความเร่งเฉลี่ยและความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง
ในหัวข้อนี้จะอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงความเร็วซึ่งเรียกว่าความเร่ง ข้อแตกต่างระหว่างความเร็วและความเร่งคือ ความเร็วบอกถึงการเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง ส่วนความเร่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงความเร็วนั่นคือความเร่งคืออัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
เมื่อเขียนอยู่ในรูปสมการทางคณิตศาสตร์จะได้นิยามของความเร่งเฉลี่ยคือ
=
คำจำกัดความของความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง
=
ตัวอย่างที่ 1.4 รถยนต์คันหนึ่งสามารถเร่งความเร็วจาก จนกระทั่งมีความเร็ว ภายในเวลา จงหาความเร่งเฉลี่ยของรถคันนี้
วิธีทำ จาก =
=
=
จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งกับเวลา ความชันของกราฟคือความเร็ว ในทำนองเดียวกันความเร่งคือความชันของกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลา
ตัวอย่างที่ 1.5 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลาของรถคันหนึ่งแสดงดังรูปที่ 1.6 จากกราฟอธิบายว่าเมื่อ
ก. ช่วงแรกรถมีความหน่วง (decelerating)
ข. รถมีความเร่ง (accelerating)
ค. ความเร่งเป็นศูนย์
ง. รถมีความเร็วลดลง
รูปที่ 1.6
วิธีทำ ก. ; ข. ; ค. จากคำจำกัดความของความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง ซึ่งสามารถหาได้จากความชันของกราฟ
ง. ช่วงที่รถมีความเร็วลดลงมีอยู่ 2 ช่วงคือช่วงเวลา ถึง และช่วงเวลา ถึง
1.5 การเคลื่อนที่เมื่อความเร่งคงที่
ถ้าเรารู้ว่าวัตถุเริ่มต้นเคลื่อนที่จากตำแหน่งไหน ความเร็วต้นเท่าใดและมีความเร่งเท่าใด เราจะสามารถบอกได้ว่าช่วงต่อไปวัตถุจะอยู่ที่ไหน ปัญหาที่เกิดขึ้นนี้สามารถอธิบายได้โดยใช้สมการทางคณิตศาสตร์ เมื่อกำหนดให้ตำแหน่งเริ่มต้นคือ ; ความเร็วต้นคือ ; ความเร่งคือ ความเร่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาคือ ; ความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาคือ ; ตำแหน่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาคือ ; ความเร่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของตำแหน่งคือ ; และความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของตำแหน่งคือ ซึ่งสามารถเขียนอยู่ในรูปสมการการเคลื่อนที่
ในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่สมการการเคลื่อนที่กรณีนี้ เราเรียกว่าสมการจลศาสตร์ ให้ ; ; เมื่อ คือความเร่งคงที่
สมการความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาพิจารณาได้จากนิยามความเร่งเฉลี่ย
=
=
=
เป็นสมการความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลา
สมการตำแหน่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาพิจารณาได้จากนิยามความเร็วเฉลี่ย
=
=
=
แทน ด้วย จากสมการข้างบนซึ่งเป็นสมการความเร็วเมื่อฟังก์ชั่นของเวลาจะได้
=
=
=
เป็นสมการตำแหน่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลา
ในทำนองเดียวกันความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของตำแหน่ง สามารถหาได้โดยหาเวลาจากสมการความเร็วที่เป็นฟังก์ชั่นของเวลา จากนั้นนำเวลาที่ได้แทนลงในสมการตำแหน่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาดังนี้
=
=
จาก =
=
=
=
=
=
จากสมการจะเห็นว่าเมื่อ คงที่ความเร็วจะเป็นฟังก์ชั่นของระยะทางเขียนใหม่ได้เป็น
=
จากสมการที่ได้กำหนดให้ คือตำแหน่งเริ่มต้น ; คือความเร็วต้น ; คือความเร่งเป็นค่าคงที่ เราสามารถใช้สมการเหล่านี้หาความเร่ง ความเร็ว และตำแหน่งของวัตถุที่เวลาใด ๆได้และยังสามารถหาความเร่งและความเร็วของวัตถุที่ตำแหน่งใด ๆ ได้
สมการการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อความเร่งคงที่สามารถเขียนได้ดังนี้
=
=
=
=
=
บางกรณีในสมการจลศาสตร์เราไม่ทราบตำแหน่งเริ่มต้น ความเร็วต้น หรือค่าต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการใช้เราสมารถนำมาเขียนเพื่อแสดงค่าที่ไม่ปรากฎได้ดังนี้
สมการจลศาสตร์ |
ค่าที่ไม่ปรากฏ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
จากห้าสมการที่ได้จะสังเกตได้ว่าแต่ละสมการจะมีค่าที่ไม่ปรากฏในแต่ละสมการอยู่ 1 ค่า จากเงื่อนไขดังกล่าวเราสมารถยุบสมการต่าง ๆ ดังกล่าวให้เหลือเพียง 2 หรือ 3 สมการได้จากนั้นก็ให้แทนค่าที่ไม่ต้องการให้ปรากฏลงในสมการนั่นได้ดังนี้
กรณียุบให้เหลือเพียง 2 สมการคือ
=
=
เมื่อไม่ต้องการให้มีค่า ปรากฏในสมการก็ให้แทนค่า ลงในสมการ จะได้
=
=
=
=
=
=
=
=
หมายเหตุ นับเป็นค่าเดียวได้เนื่องจากเราสามารถเลือก หรือ ได้จากระบบพิกัดแกนมุมฉาก
ตัวอย่างที่ 1.6 รถยนต์คันหนึ่งเร่งความเร็วจาก เป็น ภายในเวลา ดังรูปที่ 1.7 จงหา
ก. ความเร่ง
ข. ระยะทางที่รถวิ่งได้ภายในเวลา 6 s.
วิธีทำ ก. จากโจทย์ค่าที่ไม่ปรากฏคือตำแหน่งสุดท้าย เมื่อ ; ; ; ; ;
จากสมการ
=
=
รูปที่ 1.7 =
ข. เมื่อค่าที่ไม่ปรากฏคือความเร่ง
=
เริ่มต้น ; ;
=
=
=
1.6 การตกอิสระของวัตถุ
วัตถุเมื่อตกอย่างอิสระจะมีความเร่ง เมื่อไม่คิดแรงต้านของอากาศ
หลักการคำนวณ ใช้สมการจลศาสตร์ดังกล่าวจากข้างต้นเมื่อแทนค่า ด้วยค่า การพิจารณาทิศให้พิจารณาตามความเร็วต้น
ตัวอย่างที่ 1.7 ขว้างลูกบอลขึ้นไปในอากาศด้วยความเร็วต้น 15 (m/s) ดังรูปที่ 1.8 จงคำนวณหา
ก. ระยะทางสูงสุดที่ลูกบอลเคลื่อนที่ได้
ข. เวลาที่ตำแหน่งสูงสุด
วิธีทำ
ก. จากโจทย์เมื่อไม่ทราบเวลา เมื่อ ; ; ; ; จากสมการ
=
เริ่มต้น
ที่ตำแหน่งสูงสุด
=
=
=
=
รูปที่ 1.8
ข. จากโจทย์เมื่อไม่ทราบตำแหน่งสุดท้าย
=
ที่ตำแหน่งสูงสุด
=
=
ตัวอย่างที่ 1.8 ขว้างลูกบอลขึ้นไปในอากาศด้วยความเร็วต้น ดังรูปที่ 1.9
ก.จงแสดงให้เห็นว่าเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ถึงตำแหน่งสูงสุด มีค่าเท่ากับเวลาที่ใช้เคลื่อนที่กลับสู่ตำแหน่งเดิม
ข. ความเร็วปลายเมื่อเคลื่อนที่กลับสู่ตำแหน่งเดิม
วิธีทำ
ก. จากโจทย์เมื่อไม่ทราบตำแหน่งสุดท้าย เมื่อ ; ; ; ;
=
=
=
หาระยะที่วัตถุขึ้นไปได้สูงสุด เมื่อไม่ทราบเวลา
=
=
=
เมื่อตำแหน่งสูงสุดคือระยะเริ่มต้นเมื่อลูกบอลเริ่มตกและ
ความเร็ว ณ. ตำแหน่งนี้คือความเร็วต้นมีค่าเท่ากับศูนย์ จากโจทย์เมื่อไม่ทราบความเร็วสุดท้าย เมื่อ ; ; ; ; ;
=
=
รูปที่ 1.9 =
=
นั่นคือ =
ข. จากโจทย์เมื่อไม่ทราบความเร็วสุดท้าย
=
=
=
นั่นคือความเร็วของลูกบอลขณะกลับสู่ตำแหน่งเดิมจะมีความเร็วเท่ากันแต่ทิศตรงกันข้าม
1.7 สมการจลศาสตร์และการคำนวณ
บางครั้งการเคลื่อนที่ของวัตถุถูกกำหนดโดยคำจำกัดความ ของความเร็วและความเร่ง
=
และ =
จากสมการข้างต้นเราสามารถใช้แคลลูลัสสร้างสมการจลศาสตร์เมื่อมีความเร่งคงที่ได้
=
=
=
ให้ คงที่
=
=
=
จากสมการที่ได้จะสังเกตุเห็นได้ว่า ความเร็วขึ้นกับเวลา เขียนใหม่ได้เป็น ก็คือสมการจลศาสตร์เมื่อความเร็วเป็นฟังก์ชั่นของเวลาในทำนองเดียวกัน
=
แต่ =
=
=
=
แต่ความเร่ง และความเร็วต้นไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
=
=
เป็นสมการจลศาสตร์เมื่อตำแหน่งเป็นฟังก์ชั่นของเวลา
การหาสมการการเคลื่อนที่ของวัตถุ ดังกล่าวข้างต้นโดยวิธีการหาอนุพันธ์ หรือ การอินทิเกรต ใช้สำหรับการหาสมการเมื่อความเร่งไม่คงที่
สรุป
ในบทนี้สามารถอธิบายการเคลื่อนที่ในรูปของตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง ในกรณีที่ความเร่งคงที่เราสามารถใช้เงื่อนไขต่าง ๆ สร้างสมการจลศาสตร์ได้ และสามารถใช้คำจำกัดความเบื้องต้นเพื่อหาสมการการเคลื่อนที่เมื่อความเร่งไม่คงที่ได้
ตำแหน่ง :
การกระจัด :
ความเร็วเฉลี่ย :
ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง :
ความเร่งเฉลี่ย :
ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง :
สมการจลศาสตร์ |
ค่าที่ไม่ปรากฏ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ใช้ในกรณีเมื่อความเร่ง คงที่