home movie radio music chord lyrics book game Dictionary clip
HOME HAND MADE RADIO SHOP CHORD LYRICS BOOKS GAME Dictionary Clip




 
หน้าหลัก | บทที่ 1 | บทที่ 2 | บทที่ 3 | บทที่ 4 | บทที่ 5 | บทที่ 6 | บทที่ 7 | บทที่ 8 | บทที่ 9 | บทที่ 10 | บทที่ 11 | บทที่ 12 | บทที่ 13 | บทที่ 14 | บทที่ 15 |
 

บทที่ 5 งานและการเคลื่อนที่แบบที่สอง

 

เนื้อหาประกอบด้วย

5.1 แรงเสียดทานที่มีความซับซ้อน

5.2 การตกอย่างอิสระเมื่อคิดแรงเสียดทานของอากาศ

5.3 การเคลื่อนที่เป็นวงกลมอย่างสม่ำเสมอ

5.4 การเคลื่อนที่เป็นวงกลมไม่สม่ำเสมอ

          เราจะมีวิธีคิดอย่างไร จะทำอย่างไร สำหรับแรงที่กระทำกับวัตถุในกรณีที่มีความซับซ้อน

 

5.1 แรงเสียดทานที่มีความซับซ้อน

          กล่องบนพื้นราบ

          พิจารณากล่องดังรูปที่ 5.1 แรงเสียดทานจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับแรงปฏิกริยาในแนวตั้งฉาก  กับผิวสัมผัสของวัตถุนั้น (ไม่ใช่น้ำหนัก) เมื่อออกแรงผลักกล่องเพิ่มขึ้นแรงเสียดทานก็จะเพิ่มขึ้นตาม  จึงถึงค่าสูงสุดที่วัตถุเริ่มเคลื่อนที่ (ยังไม่เคลื่อนที่แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า  แรงเสียดทานสถิต  เราสามารถให้คำจำกัดความของ    

                   รูปที่ 5.1                          สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต  ได้คือ

                                                                         =      

                  

ตัวอย่างที่ 5.1 กล่องมวล  วางอยู่บนโต๊ะราบ  ออกแรง  ขนานกับพื้นโต๊ะเดิมกล่องอยู่นิ่งดังรูปที่ 5.1

ก.     จงคำนวณหาแรงที่กระทำกับกล่อง

ข.     ถ้าสัมประสิทธ์ความเสียดทานสถิตมีค่า  จะต้องออกแรงอย่างน้อยที่สุดเท่าใดจึงจะให้กล่องเริ่มเคลื่อนที่

วิธีทำ  จากกฎข้อสองของนิวตันเมื่อกล่องอยู่นิ่ง

                                        =      

                                       =      

                                            =            

                                            =      

ข.     เมื่อกล่องเริ่มเคลื่อนที่  แรงเสียดทานจะมีค่ามากที่สุดความเร่งยังคงเป็นศูนย์ (กล่องไม่เคลื่อนที่) จากกฎข้อสองของนิวตัน

 

          แกน

                                        =      

      =      

                =      

 

แกน

                                        =      

                                    =      

               =      

จากคำจำกัดความของสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต

                                            =      

แทนค่าต่าง ๆ ที่ได้จากด้านบน

                                            =      

                                             =      

                                                =      

                                                =      

 

          กล่องบนพื้นเอียง

          การหาค่าสัมประสิทธ์ความเสียดทานสถิตของกล่องบนพื้นเอียง

 

ตัวอย่างที่ 5.2 วางกล่องมวล  บนพื้นเอียงจากนั้นค่อย ๆ เพิ่มความสูงของพื้นเอียงจนกระทั่งกล่องเริ่มเคลื่อนที่ ดังรูปที่ 5.2 สมมติให้มุมขณะนั่นคือ  องศา จงหาสัมประสิทธ์ความเสียดทานสถิต

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รูปที่ 5.2

 

วิธีทำ  พิจารณา free body diagram  และจากกฎข้อสองของนิวตันพิจารณาในแต่ละแกน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แกน

                                                  =      

                                     =      

                                                  =      

แกน

                                                 =      

                                      =      

                                                     =      

จากคำกำจัดความของสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต

                         =       =      

                             =                  =      

แทนค่ามุม  จะได้  :                                     =      

                                                          =      

          เนื่องจากสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์  มีค่าน้อยกว่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต

          คำจำกัดความของสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์คือ

                                                     =      

 

ตัวอย่างที่ 5.3  กำหนดให้สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์มีค่าเท่ากับ 90% ของค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต  จากตัวอย่างที่ 5.2 จงคำนวณหาความเร่งของกล่องบนเมื่อเคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียง เดิมกล่องอยู่นิ่ง

 

 

 

 

                                     

 

 

 

 

 

 

                                      

 

                                                รูปที่ 5.3

 

 

 

 

 

 

 

 

 

วิธีทำ จาก free body diagram

                                               

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แกน

                              =      

                              =      

                                    =      

แกน

                              =      

                                  =      

จากคำกำจัดความของสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์

                                  =                    

                                   =      

                                      =      

จากสมการ  :                    =      

แทนค่า    ลงในสมการจะได้

                                    =      

                                      =      

แต่    จากโจทย์เมื่อ  จากตัวอย่างที่ 5.2 ดังนั้นจะได้  แทนค่าต่างๆ ลงในสมการข้างบน

                          =      

                             =      

 

ตัวอย่างที่ 5.4 กล่องมวล  เท่ากันสองกล่อง  ก้อนแรกวางบนพื้นเอียงซึ่งทำมุม  กับแนวราบด้านข้างของกล่องผูกติดกับปลายเชือกเบาโดยปลายอีกด้านหนึ่งผูกติดกับด้านข้างของกล่องอีกใบหนึ่งซึ่งคล้องผ่านรอกเบาดังรูปที่ 5.4 ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นเอียงกับกล่องมีค่าเป็น  จงหาความเร่งของระบบและแรงตึงเชือก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รูปที่ 5.4

 

วิธีทำ  พิจารณาตามระบบแกนมุมฉากดังรูป  เพื่อให้สอดคล้องกันให้กล่องเคลื่อนที่ขึ้นตามพื้นเอียงมีค่าเป็นบวก กล่องที่แขวนเมื่อเคลื่อนที่ลงต้องมีค่าเป็นบวกด้วย (พิจารณาตามทิศทางการเคลื่อนที่)

          พิจารณากล่องที่แขวน

                                      จากกฎข้อสองของนิวตัน

                              =      

                            =      

          จะได้            

                            =            ……………….. (1)

                   จากสมการที่ (1) มีค่าที่ไม่ทราบค่าอยู่สองค่า

          พิจารณาแรงที่กระทำต่อกล่องที่วางอยู่บนพื้นเอียงดังรูปที่ 5.5 เมื่อนำมาเขียน free body diagram และจากกฎข้อสองของนิวตัน

                 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                                                           รูปที่ 5.5

 

 

 

แกน

                                                 =      

                                   =                ……………….. (2)

 

แกน

                                                 =      

                                                 =      

                                                     =         ……………….. (3)

จะได้สมการสามสมการ  แต่มีค่าที่ไม่ทราบค่าสี่ค่า  แต่   จะได้ ดังนั้น สมการที่ (3) เขียนใหม่ได้เป็น

                                            =        ……………….. (4)

จะได้สมการสี่สมการและค่าที่ไม่ค่าสี่ค่า  แทนสมการที่ (4) ลงในสมการที่ (2) จะได้                  =      

เทียบสมการนี้กับสมการที่ (1)  จะได้ค่าทางด้านขวามือเท่ากันดังนั้นสมการด้านซ้ายมือย่อมเท่ากัน

            =      

                       =      

                        =      

แทนค่าต่างลงในสมการ

                        =      

                             =      

          จากสมการที่ (1)

                           =      

                                    =      

                                      =      

                                      =      

 

สรุป

 

1.       ( แรงเสียดทานสถิตย์จะมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับผลคูณระหว่างสัมประสิทธิความเสียดทานสถิตกับแรงปฎิกริยาในแนวตั้งฉาก

2.      =

3.     =

 

 

 

 

5.2 การตกอย่างอิสระภายใต้แรงต้านอากาศ

          จากบทที่ 1 เป็นการตกอย่างอิสระเมื่อไม่คิดแรงต้านอากาศ  เนื่องจากเมื่อคิดแรงต้านต้านอากาศจะมีความยุ่งยากในการคำนวณ  แต่ในบทนี้จะศึกษาเกี่ยวกับแรงต้านอากาศที่กระทำต่อวัตถุเมื่อวัตถุตกอย่างอิสระดังรูปที่ 5.6 แรงต้านอากาศ  จะมีทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่

          จากรูปที่ 5.6 การคำนวณสามารทำได้ดังนี้

ก. หาแรงต่าง ๆ ที่กระทำต่อวัตถุ

ข. ใช้กฎข้อสองของนิวตันเพื่อหาความเร่ง

ค. ใช้คำจำกัดความของความเร่ง  ตำแหน่งเริ่มต้น และความเร็วเมื่อหาการเคลื่อนที่

          แรงต้านอากาศขณะวัตถุเคลื่อนที่จะเป็ปฎิภาคโดยตรงกับอัตราเร็วยกกำลังสองคือ   เมื่อ  คือค่าคงที่ขึ้นอยู่กับขนาดและรูปร่างของวัตถุรวมถึงความหนาแน่นของอากาศ  พิจารณาการตกอิสระภายใต้แรงต้านอากาศโดยใช้กฎข้อสองของนิวตัน

 

                              =      

                 =      

                =      

 

 

รูปที่ 5.6

 

เมื่อวัตถุมีความเร็วมากขึ้นแรงต้านอากาศก็มีค่ามากขึ้นด้วย  จนในที่สุดแรงทั้งสองมีค่าเท่ากัน  วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่  เรียกว่า " ความเร็วปลาย  " (terminal velocity)

เมื่อ  จะได้

 

                          =      

                                  =      

                                   =      

          แทนค่าสมการที่ได้ลงในสมการข้างต้น  และจากคำจำกัดความของความเร่งจะได้

                                    =      

          เนื่องจาก 

                                            =      

          จัดสมการใหม่เพื่อให้ง่ายต่อการอินทิเกรต

                                      =      

                                    =      

          การอิทิเกรตสมการทางขวามือสามารถทำได้โดยตรง  ส่วนสมการทางซ้ายมือสามารถหาได้โดยใช้ partial fracitions  จะได้

                                   =      

 

                          =      

 

                                                 =      

 

เมื่อเขียนสมการความเร็วเป็นฟังก์ชั่นของเวลา

 

                                            =      

 

                                                 =      

                                                       =      

สังเกต   ที่เวลา  ;

                         จะได้

 

เหตุที่ให้หัวข้อนี้ไว้ตอนสุดท้ายเนื่องจากเมื่อแรงที่กระทำต่อวัตถุคงที่  หมายความว่าความเร่งก็ย่อมคงที่ ซึ่งก็คือคำตอบของสมการทางจลศาสตร์

 

5.3 การเคลื่อนที่แบบวงกลมแบบสม่ำเสมอ

          พิจารณามวลติดปลายเชือกเมื่อหมุนเป็นวงกลมเหนือศรีษะดังรูปที่ 5.7

 

              การเคลื่อนที่แบบนี้สามารอธิบายได้โดยอาศัยกฎของนิวตัน  จากกฎข้อที่หนึ่ง มวลยังคงหมุนไม่เปลี่ยนแปลงจนกว่าจะมีแรงมากระทำ  ดังนั้นมวลก็ยังคงสภาพหมุนต่อไป จากกฎข้อที่สอง แรงและความเร่งจำเป็นต้องรักษาตำแหน่งในการเคลื่อนที่  เมื่อมวลเคลื่อนที่เป็นวงกลมสม่ำเสมอ (ความเร็วคงที่) ในที่นี้ความเร่งมีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางเรียกว่า

               ความเร่งสู่ศูนย์กลาง

                =      

         

            รูปที่ 5.7

 

          ดังนั้นต้องมีแรงกระทำสู่ศูนย์กลางเพื่อทำให้มวลเคลื่อนที่เป็นวงกลมในกรณีนี้แรงสู่ศูนย์กลางคือแรงตึงเชือก  กรณีของดวงจันทร์คือแรงความโน้มถ่วง

 

 

 

 

ตัวอย่างที่ 5.5 มวล  ติดที่ปลายเชือกยาว  หมุนเป็นวงกลมเหนือศรีษะด้วยอัตราเร็ว  (รอบต่อนาที) จงหาแรงตึงเชือก

วิธีทำ  แรงที่กระทำต่อมวลคือแรงตึงเชือกกระทำตามแนวแกน  ดังรูปที่ 5.8 จากกฎข้อสองของนิวตัน

            =      

               =      

                   =      

จากคำกำจัดความของความเร็ว

                 =      

                   =      

                   รูปที่ 5.8        

 

จะได้                                     =      

 

                                                =      

 

แต่                    

 

เมื่อรัศมีคือความยาวเชือกจะได้ 

 

                        =      

 

                             =      

 

                             =      

 

          จากเงื่อนไขข้างต้นจะสังเกตเห็นว่าเราไม่ได้นำค่าแรงความโน้มถ่วงเข้ามาเกี่ยวข้องในการคำนวณเลย  ถ้าพิจารณาเงื่อนไขแรงดังรูปที่ 5.9  ดังนั้นเมื่อคิดแรงโน้มถ่วงจะสังเกตเห็นว่าแรง   อยู่ในระนาบ  หรือมี 2 ทิศทาง ดังนั้นเราสามารถคำนวณได้อีกวิธีหนึ่งโดยอาศัยกฎข้อสองของนิวตันโดยพิจารณาแต่ละแกนดังนี้

 

 

 

 

 

 

แกน

                     =      

                  =      

                        =                 …….. (1)

 

แกน 

                     =      

 

             รูปที่  5.9                        =      

 

                                                        =                     …….. (2)

 

แทนค่าความเร็ว  จากตอนต้นลงในสมการที่ (1)

                                           =      

 

                                                =      

 

พิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉากดังรูปที่  5.10  จะได้ว่า

 

                 =      

 

               =      

                   =      

            รูปที่ 5.10                  =               

                                             =       

 

          นั่นคือแรงตึงเชือกมีค่าเท่ากับกรณีแรกที่ไม่คิดแรงโน้มถ่วง  เนื่องจากความยาวเชือก  กับรัศมี  มีค่าต่างกันน้อยมากทำให้มวลเคลื่อนที่ต่ำกว่าแนวระดับเล็กน้อย  ในความเป็นจริงความเร็วขึ้นอยู่กับมุมที่กระทำกับแนวราบ

          จาก                     =       =      

          เนื่องจากมวลหมุนเร็วมากมุมจึงมีค่าน้อย ๆ ดังนั้นมุมที่กระทำกับแนวราบสามารถหาได้จากสมกการที่ (2) รูปที่ 5.9

                                =          

                                    =      

                                      =      

                                      =      

 

ตัวอย่างที่ 5.6 รถวิ่งด้วยความเร็ว   บนทางโค้งรัศมี   จงหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานที่น้อยที่สุดที่ทำให้รถคันนี้วิ่งบนทางโค้งได้โดยไม่ลื่นไถล

วิธีทำ  พิจารณาแรงที่กระทำต่อรถดังรูปที่ 5.11 ซึ่งประกอบด้วยน้ำหนัก  แรงปฏิกริยาที่พื้นกระทำต่อล้อรถ   และแรงเสียดทานสถิตย์ จากกฎข้อสองของนิวตันแยกพิจารณาในแต่ละแกน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                                                รูปที่ 5.11

แกน 

                               =         

                                   =                                       …….. (1)

          

แกน 

                              =      

                          =      

                                  =                                        …….. (2)

แต่                            =      

                                  =      

เนื่องจากรถวิ่งโดยไม่ลื่นไถลแสดงว่า

 

 

                                                  

                                                

                                                  

แทนค่า  และ  จะได้

                                                  

                                                      

 

                                                      

                                               

          ในกรณีที่ถนนเปียกสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจะมีค่าน้อยมาก  รถจะวิ่งบนทางโค้งด้วยความเร็วสูงได้ โดยพิจารณาจากสมการข้างบนจะเห็นว่าถ้ารัศมีความโค้งยิ่งมากสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจะน้อยก็จะทำให้แรงเสียดทานมีค่าน้อยด้วย

 

5.4 การเคลื่อนที่เป็นวงกลมไม่สม่ำเสมอ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                                                รูปที่  5.12  

 

          พิจารณามวลติดปลายเชือกเมื่อหมุนช้า ๆ โดยให้ระนาบการหมุนอยู่ในแนวดิ่งดังรูปที่ 5.12 จะสังเกตุเห็นได้ว่าความเร็วจะไม่คงที่  การเคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยความเร็วไม่คงที่นี้เรียกว่า การเคลื่อนที่เป็นวงกลมไม่สม่ำเสมอ  โดยที่ความเร็วจะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งขนาดและทิศทางจะทำให้เกิดความเร่งทั้งสองแนว  คือความเร่งสู่ศูนย์กลาง  และความเร่งแนวเส้นสัมผัส  ดังนั้นความเร่งลัพธ์ที่กิดขึ้นคำนวณได้ดังนี้

                                    =      

          จากรูปที่ 5.12 สามารถอธิบายได้ว่าแรงตึงเชือก  คือแรงสู่ศูนย์กลาง ส่วนน้ำหนัก  คือองค์ประกอบของแรงในแนวเส้นสัมผัส (ดูตัวอย่างที่  5.7 ประกอบ)

 

 

ตัวอย่างที่ 5.7 แกว่งมวล  โดยให้ระนาบของการหมุนอยู่ในแนวดิ่งในทิศตามเข็มนาฬิกา  ให้เชือกยาว และมวล m ทำมุม  กับแนวดิ่งดังรูปที่ 5.13 ทำให้เกิดแรงตึงเชือก  จงหา

 

          . ความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง

          . ความเร่งแนวเส้นสัมผัส

          . ความเร็วแนวเส้นสัมผัส

             

 

 

         

               รูปที่  5.13

 

วิธีทำ   ก. พิจารณา free body  diagram  ดังรูปที่ 5.14

 

แกน

                               =      

 

                  =      

 

                =      

 

                     รูปที่ 5.14              

         

 

                         =      

                             =      

เครื่องหมายลบแสดงทิศ  หมายความว่า    มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง

 

          . จากรูปที่ 5.14  แกน

                                        =      

                                  =      

                                            =      

                                                =      

                                                =      

เครื่องหมายลบแสดงว่าความเร่งมิทศลงตามแกน

. จาก                          =      

                                    =      

                                      =      

                                      =      

สรุป

1.      

2.    สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตย์    

3.    สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์     ;    

4.    แรงต้านอากาศ       =

 

การเคลื่อนที่เป็นวงกลมแบบสม่ำเสมอ - ไม่สม่ำเสมอ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 
Bookmark This Page