|
|||||||||||||||||||||||||||||||||
หน้าหลัก | บทที่ 1 | บทที่ 2 | บทที่ 3 | บทที่ 4 | บทที่ 5 | บทที่ 6 | บทที่ 7 | บทที่ 8 | บทที่ 9 | บทที่ 10 | บทที่ 11 | บทที่ 12 | บทที่ 13 | บทที่ 14 | บทที่ 15 | |
บทที่ 6 พลังงานจลน์และงาน
เนื้อหาประกอบด้วย
6.1 คำจำกัดความของงาน
6.2 ทฤษฎีงาน - พลังงาน
6.3 คำจำกัดความของกำลัง
พิจารณาการตกของวัตถุเกิดจากอะไรผลเป็นย่างไร การตกของวัตถุเกิดจากแรงซึ่งเป็นปริมาณเวกเตอร์ผลทำให้เกิดงานเป็นปริมาณสเกลาร์
6.1 คำจำกัดความของงาน
รูปที่ 6.1
จากรูปที่ 6.1 แสดงแรงที่กระทำกับวัตถุซึ่งมีทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ ทำให้วัตถุมีความเร่ง ขณะที่แรงกระทำกับวัตถุมีทิศตั้งฉาก กับการเคลื่อนที่ไม่มีผลต่อความเร่งของวัตถุ งานที่ได้จะเกิดจากแรงที่มีทิศเดียวกับการเคลื่อนที่เท่านั้น หรือกล่าวได้ว่าแรงกับการกระจัดจะต้องมีทิศทางแนวเดียวกัน
งานเนื่องจากแรงคงที่
งานที่เกิดจากแรงคงที่ คือผลคูณระหว่างแรงกับการกระจัดซึ่งมีทิศเดียวกัน
=
หรือ = =
หน่วยของงาน = =
หน่วยที่ใช้เรียกงานโดยเฉพาะคือ จูล โดยที่ เป็นปริมาณสเกลาร์
ตัวอย่างที่ 6.1 ออกแรง กระทำต่อกระเป๋าเดินทางขนาด โดยทำมุม กับแนวระดับดังรูปที่ 6.2 ทำให้กระเป๋าเดินทางเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่บนผิวขรุขระได้ระยะทาง จงคำนวณหางานที่เกิดจากแรงต่าง ๆ ที่กระทำต่อกระเป๋าเดินทาง
รูปที่ 6.2
วิธีทำ คำนวณหาขนาดของแรงต่าง ๆ ที่กระทำต่อกระเป๋าเดินทาง จากกฎข้อที่สองของนิวตัน พิจารณาแนวแรงตามรูปที่ 6.3
รูปที่ 6.3
=
=
=
=
=
=
ดังนั้นแรงต่าง ๆ ที่กระทำต่อกระเป๋าเดินทางคือ
=
=
=
=
=
=
=
=
=
จากคำจำกัดความของงาน
=
=
=
=
เป็นงานที่เกิดจากแรงซึ่งมีทิศเดียวกับการกระจัดซึ่งมีเพียงแรงเดียวเท่านั้น
=
=
=
=
=
เป็นงานที่เกิดจากแรงเสียดทานซึ่งมีทิศตรงกันข้ามกับการกระจัด ดังนั้นเมื่อแตกแรง เข้าการกระจัดคือ จึงมีค่าเป็นลบ
=
=
=
=
=
ไม่เกิดงานเนื่องจากแรงทั้งสอง เนื่องจากแรงทั้งสองไม่ทำให้เกิดการกระจัดในทิศเดียวกับแรงทั้งสอง
งานสุทธิที่กระทำต่อกระเป๋าเดินทางคืองานรวมทั้งหมดซึ่งมีค่าเท่ากับศูนย์เนื่องจากกระเป๋าไม่มีความเร่งนั่นคือ
=
=
=
พิจารณากรณีกระเป๋าเดินทางมีความเร่งดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 6.2 จากตัวอย่างที่ 6.1 ถ้าพื้นมีสัมประสิทธ์ความเสียดทานจลน์
วิธีทำ ตัวอย่างที่ 6.1 และ 6.2 แตกต่างกันเพียงเล็กน้อยเท่านั้นโดยที่ในตัวอย่างที่ 6.2 พื้นจะมีสัมประสิทธ์ความเสียดทานจลน์เข้ามาเกี่ยวข้องอาศัยรูปที่ 6.2 และ 6.3 และข้อมูลจากตัวอย่างที่ 6.1
จาก =
=
=
=
งานที่กระทำโดยแรงเสียดทานคือ
=
=
=
=
=
ส่วนงานที่เกิดจากแรงต่างๆ จะมีค่าเท่ากับงานที่เกิดจากแรงในตัวอย่างที่ 6.1 นั่นคือ
=
; ;
ดังนั้นงานสุทธ์ที่กระทำต่อกระเป๋าเดินทางคือ
=
=
=
เป็นงานสุทธิซึ่งเกิดจากแรงต่าง ๆ ที่กระทำต่อกระเป๋าเดินทางทำให้กระเป๋าเดินทางเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง
จากคำจำกัดความของงานเมื่อเขียนอยู่ในรูปสมการ ดังรูปที่ 6.4 ทำให้ยุ่งยากและไม่สะดวกในการคำนวณ เพื่อให้ง่ายในการแก้สมการสามารถเขียนได้ใหม่โดยใช้ผลคูณแบบดอต (dot product)
รูปที่ 6.4
=
เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับสมการอันเดิมจะเหมือนกันคือ
=
= =
งานเนื่องจากแรงไม่คงที่
เมื่อแรง แปรตามระยะทาง ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ดังกราฟรูปที่ 6.5 การคำนวณหางานที่เกิดขึ้น สามารถทำได้เช่นเดียวกับงานที่เกิดจากแรงคงที่ โดยการแบ่งระยะทางระหว่าง ถึง เป็นส่วนเล็ก ๆ คือ ซึ่งแต่ละส่วนเล็ก ๆ มีค่าเกือบคงที่ และส่วนเล็ก ๆ นี้จะทำให้เกิดงานย่อย ๆ ดังนั้นงานที่เกิดขึ้นทั้งหมดคือ
รูปที่ 6.5
ผลรวมของงานย่อย ๆ ที่เกิดขึ้น
=
=
เมื่อระยะทางมีขนาดเล็กมาก ๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นงานทั้งหมดคือพื้นที่ใต้กราฟซึ่งหาได้โดยการอินทิเกรต จาก ถึง เนื่องจาก มีค่าน้อยมาก ๆ ดังนั้นสามารถเขียนแทนได้เป็น
=
=
=
=
ดังนั้นงานที่เกิดจากแรงไม่คงที่คือ
=
เช่นงานที่ใช้ในการดึงหรือกดสปริง
ตัวอย่างที่ 6.3 ออกแรงดึงสปริงในแนวราบทำให้สปริงยืดออกเป็นระยะทาง ดังรูปที่ 6.6 จงหางานที่กระทำโดยสปริง
วิธีทำ เมื่อออกแรง ดึงสปริง สปริงจะออกแรงดึงกลับ ซึ่งมีขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงกันข้าม โดยแรงดึงกลับจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับ เมื่อ คือระยะยืดหรือหดจากจุดสมดุล
รูปที่ 6.6
=
เมื่อ คือค่าคงตัวของสปริง (spring constant) เรียกว่าค่านิจสปริง
ถ้าออกแรงดึงที่ปลายสปริงให้ยืดออกเป็นระยะทาง จากกฎข้อสองของนิวตันจะได้ว่า
=
=
= =
งานที่ใช้ในการดึงสปริงคือ
=
=
=
=
6.2 ทฤษฎีงาน - พลังงาน
จากหัวข้อที่แล้วพิจารณางานสุทธิที่กระทำต่อวัตถุ แล้วทำให้วัตถุมีความเร่ง พิจารณาจากคำจำกัดความของงานและอาศัยกฎข้อที่สองของนิวตันจะได้ว่า
=
=
=
=
จากคำจำกัดความของความเร่งและความเร็ว
=
=
=
=
สมมุติให้วัตถุมีความเร็วต้น และความเร็วปลาย
=
=
=
นั่นคืองานสุทธิที่กระทำต่อวัตถุ จะทำให้วัตถุมีการเปลี่ยนแปลงปริมาณปริมาณหนึ่ง เมื่อ เรียกว่าพลังงานจลน์
พลังงานจลน์
=
ดังนั้นงานสุทธิที่กระทำต่อวัตถุสามารถเขียนใหม่ได้เป็น
= สมการนี้เรียกว่าทฤษฎีของงาน – พลังงาน
ทฤษฎีงาน - พลังงาน
=
สรุป ได้ว่างานสุทธิที่กระทำต่อวัตถุจะทำให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์
ตัวอย่างที่ 6.4 ปล่อยทรงกลมจากความสูง ดังรูปที่ 6.7 จงคำนวณหาความเร็วขณะกระทบพื้น
วิธีทำ เนื่องจากเป็นการเคลื่อนที่แบบดิ่งอิสระสามารถคำนวณโดยใช้สมการการเคลื่อนที่จากบทที่แล้วก็ได้
ทดสอบโดยการแปลงค่าจากทฤษฎีงาน - พลังงาน เมื่องานสุทธิที่ได้เกิดจากแรงโน้มถ่วง
จากคำจำกัดความของงาน
=
=
=
=
รูปที่ 6.7
จากทฤษฎีงาน - พลังงาน เมื่อมีการกระทำต่อวัตถุจะทำให้พลังงานจลน์ของวัตถุเปลี่ยนแปลง
=
=
=
=
แต่ ดังนั้น = (เปรียบเทียบสมการนี้กับสมการที่ได้จากตัวอย่างที่ 6.7 )
จะได้ =
=
=
หมายเหตุ ปัญหาที่เกิดจากการชนไม่สามารถแก้โดยใช้พลังงานจลน์ได้
ตัวอย่างที่ 6.5 นำมวล อัดสปริงซึ่งมีค่านิจสปริงเท่ากับ ทำให้สปริงหดเข้าไปเป็นระยะทาง ดังรูปแล้วปล่อย จงหา
ก. งานที่สปริงกระทำกับมวล
ข. พลังงานจลน์และความเร็วของมวล ขณะที่ออกจาก สปริง
วิธีทำ ก. =
=
=
=
=
=
ข. =
=
=
=
แต่ =
=
=
=
จากตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นว่างานสุทธิ์เป็นผลทำให้เกิดพลังงานจลน์
โจทย์ข้อนี้สามารถคำนวณได้อีกวิธีหนึ่งคือใช้กฎข้อสองของนิวตัน แล้วใช้คำจำกัดความของความเร่งจากนั้นอินทิเกรตหาความเร็วซึ่งมีความยุ่งยาก ดังนั้นเพื่อความสะดวกจึงใช้ทฤษฎีงาน - พลังงาน
คำนวณโดยใช้กฎของนิวตันจาก
=
=
=
=
แต่
=
=
=
=
=
=
6.3 คำจำกัดความของกำลัง
กำลังคือ : อัตราการทำงาน
เขียนอยู่ในรูปสมการทางคณิตศาสตร์ได้ดังนี้
คำจำกัดความของกำลัง
= =
=
หน่วยของกำลังเป็น หรือวัตต์ (Watt) เขียนย่อ
นอกจากนี้หน่วยของกำลังยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ากำลังม้า (horse power) เขียนย่อเป็น
บางครั้งเขียนหน่วยของพลังงาน (หรืองาน) ในพจน์ของกำลังเป็น กิโลวัตต์ - ชั่วโมง ซึ่งเป็นพลังงานที่เปลี่ยนรูปหรือสิ้นเปลืองนับเป็นกิโลวัตต์ในเวลา 1 ชั่วโมงโดย
=
=
เช่นหลอดไฟ จะใช้พลังงาน
ตัวอย่างที่ 6.6 รถยนต์คันหนึ่งเครื่องยนต์มีกำลัง วิ่งด้วยความเร็ว ภายในเวลา จงหา
ก. งานที่ทำโดยเครื่องยนต์
ข. แรงเสียดทานของรถยนต์
วิธีทำ ก. =
=
=
=
=
=
=
=
ข. จาก = =
= =
=
=
เมื่อรถวิ่งด้วยความเร็วคงที่ แรงสุทธิ์ที่กระทำต่อรถจะมีค่าเป็นศูนย์ นั่นคือแรงเสียดทานที่กระทำกับรถยนต์จะมีค่าเท่ากับแรงที่เครื่องยนต์จ่ายออกมาแต่ทิศทางตรงกันข้าม ดังนั้นกำลังที่จ่ายออกมาบางส่วนจะสูญเสียให้แก่แรงเสียดทาน
จาก = =
=
=
=
สรุป
คำจำกัดความของงาน : =
คำจำกัดความของพลังงานจลน์ : =
ทฤษฎีงาน - พลังงาน : =
คำจำกัดความของกำลัง : =